โอไฮโย่ะ......โกไซมัสซึ......
วันนี้ผมเข้ามาเร็วอีกหน่อย เพราะมีเรื่องราวให้คุยกันอีกเยอะเลย......ไหนยังจะเรื่องค้างคาเอาไว้ในอาทิตย์ก่อนอีกจมหู....ชาติหน้าจะเขียนใช้หนี้หมดหรือเปล่ายังไม่ทราบ......เอาเป็นว่าหากผมเบื่อๆ..ก็อาจจะขอออกไปขับรถเล่นสักปีหรือ2ปี.....หากมีชีวิตรอดกลับมาได้....ก็จะเอาเรื่องราวในอดีตมาเล่าให้ฟังกันต่อไป.....ตอนนี้ก็ไล่เก็บในรายละเอียดของรถยามาฮ่า VR 150ไปเรื่อยๆ......เชื่อแน่ว่าพอทำเสร็จสมบูรณ์แล้ว.....มันน่าจะรับใช้ครูน้าหยอยไปได้อีกหลายหมื่นกิโล.....ขี่กันจนตายคารถไปนี่แหละ.....
คราวนี้กลับมาคุยกันถึงระบบคาบูเรเตอร์กันต่อจากเมื่อวานนี้......ผมบอกเอาไว้ว่า จะมาอธิบายวิธีการวัดขนาดของคาบูเรเตอร์และวิธีการปรับจูนอย่างละเอียดให้เข้าใจกันต่อไป......เพราะเห็นเด็กแว๊นเขาชอบไปหาซื้อคาบูเรเตอร์ขนาดใหญ่ๆมาใส่รถกันแบบไร้ทิศทาง......บอกตรงๆว่า้เสียดายเงิน.......เพราะรถแต่ละรุ่นนั้นมันมีขีดจำกัดในการใช้คาบูเรเตอร์กันไปคนละแบบ(คือการแต่งรถให้มีความเร็ว-หรือไม่มีความเร็วก็แล้วแต่-มันมีองค์ประกอบนับเป็น10 แฟคเตอร์.......และเราก็สามารถเอาปัญหานู้น....ย้ายมาแทนปัญหานี้ได้...แบบไม่มีข้อจำกัด.......ประเด็นสำคัญคือเราจะต้องอ่านอาการของรถที่เรากำลังดำเนินการได้อย่างทะลุปรุโปร่งเป็นประเด็นสำคัญ)
ตัวอย่างง่ายๆที่ผมทำให้ดูกันบ่อยๆก็คือ.....ผมเองนั้นไม่เคยยึดติดกับขนาดของเบอร์นมหนูของรถแต่ละรุ่นหรือแต่ละคันเลยแม้แต่น้อย......เพราะหากเรายึดติดอยู่กับเบอร์นมหนู.....เราเองนั่นแหละที่จะหัวหงอก........เพราะนมหนูมันมีหลายยี่ห้อ.....แต่ละยี่ห้อก็มีเบอร์เฉพาะตัวของมัน.......แถมในช่วงนี้ ยังมีคาบูเรเตอร์ของรถจีนเข้ามาตีตลาดด้วย.....มันคือตัวแปรระดับวิกฤติที่จะทำให้นักแต่งรถหงายเก๋งมาแล้วจนถ้วนหน้า.....เพราะฉะนั้น หากจะเป็นช่างที่มีฝีมือ เราจะต้องอ่านอาการของรถให้ออกทุกแง่มุม
หยุดอยู่แค่นั้นก่อน....ไม่งั้นผมจะไหลไปแบบยั้งไม่หยุด....กลับมาที่การอ่านขนาดของคาบูเรเตอร์อีกครั้ง.......
อยากให้กระทู้มีสาระ(มารู้จักคาบูเรเตอร์ให้ลึกๆกัน)
วันนี้ผมเข้ามาเร็วอีกหน่อย เพราะมีเรื่องราวให้คุยกันอีกเยอะเลย......ไหนยังจะเรื่องค้างคาเอาไว้ในอาทิตย์ก่อนอีกจมหู....ชาติหน้าจะเขียนใช้หนี้หมดหรือเปล่ายังไม่ทราบ......เอาเป็นว่าหากผมเบื่อๆ..ก็อาจจะขอออกไปขับรถเล่นสักปีหรือ2ปี.....หากมีชีวิตรอดกลับมาได้....ก็จะเอาเรื่องราวในอดีตมาเล่าให้ฟังกันต่อไป.....ตอนนี้ก็ไล่เก็บในรายละเอียดของรถยามาฮ่า VR 150ไปเรื่อยๆ......เชื่อแน่ว่าพอทำเสร็จสมบูรณ์แล้ว.....มันน่าจะรับใช้ครูน้าหยอยไปได้อีกหลายหมื่นกิโล.....ขี่กันจนตายคารถไปนี่แหละ.....
คราวนี้กลับมาคุยกันถึงระบบคาบูเรเตอร์กันต่อจากเมื่อวานนี้......ผมบอกเอาไว้ว่า จะมาอธิบายวิธีการวัดขนาดของคาบูเรเตอร์และวิธีการปรับจูนอย่างละเอียดให้เข้าใจกันต่อไป......เพราะเห็นเด็กแว๊นเขาชอบไปหาซื้อคาบูเรเตอร์ขนาดใหญ่ๆมาใส่รถกันแบบไร้ทิศทาง......บอกตรงๆว่า้เสียดายเงิน.......เพราะรถแต่ละรุ่นนั้นมันมีขีดจำกัดในการใช้คาบูเรเตอร์กันไปคนละแบบ(คือการแต่งรถให้มีความเร็ว-หรือไม่มีความเร็วก็แล้วแต่-มันมีองค์ประกอบนับเป็น10 แฟคเตอร์.......และเราก็สามารถเอาปัญหานู้น....ย้ายมาแทนปัญหานี้ได้...แบบไม่มีข้อจำกัด.......ประเด็นสำคัญคือเราจะต้องอ่านอาการของรถที่เรากำลังดำเนินการได้อย่างทะลุปรุโปร่งเป็นประเด็นสำคัญ)
ตัวอย่างง่ายๆที่ผมทำให้ดูกันบ่อยๆก็คือ.....ผมเองนั้นไม่เคยยึดติดกับขนาดของเบอร์นมหนูของรถแต่ละรุ่นหรือแต่ละคันเลยแม้แต่น้อย......เพราะหากเรายึดติดอยู่กับเบอร์นมหนู.....เราเองนั่นแหละที่จะหัวหงอก........เพราะนมหนูมันมีหลายยี่ห้อ.....แต่ละยี่ห้อก็มีเบอร์เฉพาะตัวของมัน.......แถมในช่วงนี้ ยังมีคาบูเรเตอร์ของรถจีนเข้ามาตีตลาดด้วย.....มันคือตัวแปรระดับวิกฤติที่จะทำให้นักแต่งรถหงายเก๋งมาแล้วจนถ้วนหน้า.....เพราะฉะนั้น หากจะเป็นช่างที่มีฝีมือ เราจะต้องอ่านอาการของรถให้ออกทุกแง่มุม
หยุดอยู่แค่นั้นก่อน....ไม่งั้นผมจะไหลไปแบบยั้งไม่หยุด....กลับมาที่การอ่านขนาดของคาบูเรเตอร์อีกครั้ง.......