มีน้องที่ EGAT อธิบายไว้นะครับ
ทุกวันนี้ภาคใต้มี Demand 2,200 MW แต่มี Supply เพียง 1,620 เมกะวัตต์
จึงไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ต้องใช้ไฟฟ้าจากภาคกลาง และซื้อไฟฟ้าราคาแพงจากมาเลเซีย
ทำให้ราคาค่าไฟฟ้าทั้งประเทศสูงขึ้นเนื่องจากมีต้นทุนค่าซื้อไฟฟ้าสูง
เมื่อ รฟ.ในภาคใต้มีไม่เพียงพอกับ Demand ทำให้ต้องส่งไฟฟ้าจากภาคกลางลงไปจ่ายให้
ผ่านระบบสายส่ง 3 วงจร คือ 500 KV 2 วงจร และ 230 KV 1 วงจร
โดย 500 KV 1 วงจรอยู่ระหว่างปิดซ่อมบำรุงรักษา
เมื่อเกิดเหตุขัดข้องในช่วงเย็นซึ่งเป็นช่วงทีีมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร
เมื่อวานนี้เกิดฟ้าผ่าที่สายส่ง 500 kV จอมบึง-บางสะพาน 2 (จากข่าว)
ที่ทำหน้าที่ส่งไฟฟ้าจากภาคกลางไปยังภาคใต้ ทำให้ต้องตัดวงจรไฟฟ้าออกจากระบบทันที!
เพื่อลดอันตรายและลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบที่เหลือ
เมื่อ Supply หายไปกะทันหัน 600 MW ส่งผลให้ รฟ.ในภาคใต้ ที่เหลือเพียง 1,600 MW
ต้องพยายามผลิตไฟเต็มที่เพื่อรองรับ Demand ทั้งหมด 2,200 MW ซึ่งเกินกำลัง รฟ. จะผลิตได้ เพื่อป้องกันความเสียหาย แต่ละโรงจึงค่อยๆปลดตัวเองออกตามๆกันไปทั้งระบบ
กฟผ. จึงต้อง Black Start ด้วยเขื่อนหรือโรงไฟฟ้าพลังน้ำ เพื่อจ่ายไฟให้โรงไฟฟ้าที่เหลือ
แต่ละโรงจะต้องทยอย Start up ทีละโรง รอจนความถี่เหมาะสมแต่ละเฟส
และ Sync เข้าระบบส่งทีละโรง เพื่อความเสถียรภาพของระบบ
สรุป
1. ขั้นตอนทั้งหมดคือคำอธิบายว่าทำไมต้องใช้เวลาในการกู้สถานการณ์ (โดยปกติ 3-4 ชม.)
2. สาเหตุไฟฟ้าดับคือ DEMAND มากกว่า SUPPLY
3. วิธีแก้ปัญหาคือ
1) เพิ่ม SUPPLY (เพิ่ม รฟ.กฟผ. - ค่าไฟฟ้าถูก, ซื้อไฟฟ้าเพิ่ม - ค่าไฟฟ้าแพง)
2) ลด DEMAND (ประัหยัดพลังงานลง 30% and Over)
4. รฟ.ฮีโร่เมื่อคืนนี้คือ เขื่อน
วิธีแก้ปัญหาคือ
1) เพิ่ม SUPPLY (เพิ่ม รฟ.กฟผ. - ค่าไฟฟ้าถูก, ซื้อไฟฟ้าเพิ่ม - ค่าไฟฟ้าแพง)
2) ลด DEMAND (ประัหยัดพลังงานลง 30% and Over)
เพิ่มเติม
http://www.energythai.com/2013/blackout-14-2556/
CREDIT: Aim Dist Lauder
เบื้องหลัง Blackout 14 จังหวัดภาคใต้ ปี 2556
ทุกวันนี้ภาคใต้มี Demand 2,200 MW แต่มี Supply เพียง 1,620 เมกะวัตต์
จึงไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ต้องใช้ไฟฟ้าจากภาคกลาง และซื้อไฟฟ้าราคาแพงจากมาเลเซีย
ทำให้ราคาค่าไฟฟ้าทั้งประเทศสูงขึ้นเนื่องจากมีต้นทุนค่าซื้อไฟฟ้าสูง
เมื่อ รฟ.ในภาคใต้มีไม่เพียงพอกับ Demand ทำให้ต้องส่งไฟฟ้าจากภาคกลางลงไปจ่ายให้
ผ่านระบบสายส่ง 3 วงจร คือ 500 KV 2 วงจร และ 230 KV 1 วงจร
โดย 500 KV 1 วงจรอยู่ระหว่างปิดซ่อมบำรุงรักษา
เมื่อเกิดเหตุขัดข้องในช่วงเย็นซึ่งเป็นช่วงทีีมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ทำให้เกิดไฟฟ้าลัดวงจร
เมื่อวานนี้เกิดฟ้าผ่าที่สายส่ง 500 kV จอมบึง-บางสะพาน 2 (จากข่าว)
ที่ทำหน้าที่ส่งไฟฟ้าจากภาคกลางไปยังภาคใต้ ทำให้ต้องตัดวงจรไฟฟ้าออกจากระบบทันที!
เพื่อลดอันตรายและลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับอุปกรณ์ไฟฟ้าในระบบที่เหลือ
เมื่อ Supply หายไปกะทันหัน 600 MW ส่งผลให้ รฟ.ในภาคใต้ ที่เหลือเพียง 1,600 MW
ต้องพยายามผลิตไฟเต็มที่เพื่อรองรับ Demand ทั้งหมด 2,200 MW ซึ่งเกินกำลัง รฟ. จะผลิตได้ เพื่อป้องกันความเสียหาย แต่ละโรงจึงค่อยๆปลดตัวเองออกตามๆกันไปทั้งระบบ
กฟผ. จึงต้อง Black Start ด้วยเขื่อนหรือโรงไฟฟ้าพลังน้ำ เพื่อจ่ายไฟให้โรงไฟฟ้าที่เหลือ
แต่ละโรงจะต้องทยอย Start up ทีละโรง รอจนความถี่เหมาะสมแต่ละเฟส
และ Sync เข้าระบบส่งทีละโรง เพื่อความเสถียรภาพของระบบ
สรุป
1. ขั้นตอนทั้งหมดคือคำอธิบายว่าทำไมต้องใช้เวลาในการกู้สถานการณ์ (โดยปกติ 3-4 ชม.)
2. สาเหตุไฟฟ้าดับคือ DEMAND มากกว่า SUPPLY
3. วิธีแก้ปัญหาคือ
1) เพิ่ม SUPPLY (เพิ่ม รฟ.กฟผ. - ค่าไฟฟ้าถูก, ซื้อไฟฟ้าเพิ่ม - ค่าไฟฟ้าแพง)
2) ลด DEMAND (ประัหยัดพลังงานลง 30% and Over)
4. รฟ.ฮีโร่เมื่อคืนนี้คือ เขื่อน
วิธีแก้ปัญหาคือ
1) เพิ่ม SUPPLY (เพิ่ม รฟ.กฟผ. - ค่าไฟฟ้าถูก, ซื้อไฟฟ้าเพิ่ม - ค่าไฟฟ้าแพง)
2) ลด DEMAND (ประัหยัดพลังงานลง 30% and Over)
เพิ่มเติม
http://www.energythai.com/2013/blackout-14-2556/
CREDIT: Aim Dist Lauder