ดูคลิปนี้ : แล้วจะเข้าใจ :
ควรยกเลิก MOU 43 และ MOU 44 ไหม ?
กัมพูชาใช้ :
- MOU 43 และ
- MOU 44
เป็นเครื่องมือ ในการเคลมดินแดน ขยาย
เขตแดน อ้างสิทธิ์ เอาไว้ เป็นเงื่อนไข ข้อ
ตกลง ในการทำบันทึก ความเข้าใจ ตั้งแต่แรก ที่มีการทำ บันทึกความเข้า ข้อตก
MOU ไทย - กัมพูชา
ถอดคลิป : ใจความสำคัญ คำต่อคำ
ฮุน มาเนต นายกรัฐมนตรี กัมพูชา :
กล่าวในพิธีเปิด อาคารโรงเรียน ถึงปัญหา
พิพาท แนวชายแดน กัมพูชา-ไทย ยืนยันว่า
กัมพูชาได้ทำ กลไกที่ครอบคลุม
เพื่อจัดการ กับ ข้อพิพาทเขตแดน
ประกอบด้วย
- กระบวนการทางเทคนิค
- การเจรจาทวิภาคี และ
- กฎหมายระหว่างประเทศ
นาย ฮุน มาเนต ได้กล่าวถึง ผลการหารือ
กับ นาย อันวาร์ อิบราฮิม นายกรัฐมนตรี
มาเลเซีย ในฐานะประธานอาเซียน
ว่า เขา ได้แสดงจุดยืน ของทาง กัมพูชา
ใน ปัญหาข้อ พิพาทเขตแดน กับ ไทย ว่า
ยุทธศาสตร์ของทางกัมพูชา :
ยึดกลไก หลัก 3 ประการ คือ
1การดำเนินการ
ตามกรอบ การทำงานทางเทคนิค ผ่านคณะ
กรรมการ เขตแดนร่วม ทวิภาคี
โดยอ้างอิงจาก เอกสารทางกฎหมาย และ
แผนที่ ตามที่ได้ตกลงไว้
เขตแดน กัมพูชาไทย ทั้ง 2 ประเทศ ได้ตกลง กัน ภายใต้ บันทึกความเข้าใจ
MOU 43
ในการใช้ แผนที่ จัดทำขึ้นตาม สนธิสัญญา
ฝรั่งเศสสยาม ปี คศ. 1904 และ
กระบวนการปักปัน เขตแดน ปี คศ. 1907
โดยการใช้ แผนที่ ตามมาตรส่วน
1 ต่อ 200000
เป็นพื้นฐาน ในการ แก้ปัญหา ข้อพิพาทชายแดน กว่า 800 Km
จากพื้นที่ สามเหลี่ยมมรกต ถึง เกาะกง
หากกลไก ทางเทคนิค เหล่านี้ล้มเหลว
ก็จะยืนตาม
-ช่องทางกฎหมาย ระหว่าง ประเทศ และ
-กระบวนการทาง กฎหมายระหว่างประเทศ
อย่างเป็น ทางการ
กัมพูชา ต้องการแก้ ปัญหาที่มีมานาน
ตอนนี้ เพื่อไม่ให้เป็น ภาระของคน รุ่นหลัง
ต่อไป...
สรุป : MOU 43 และ MOU 44
- จะเป็นปัญหา กับ ประเทศไทย
ต่อ ไปในอนาคต อันใกล้นี้ ถ้าไม่ยกเลิก
MOU 43 : ไทยยอมรับ :
ใช้แผนที่ ฝรั่งเศสสยาม
คศ. 1904 ในการแก้ปัญหา ข้อพิพาท
เขตแดน มาตรส่วน 1 ต่อ 2แสน
MOU 44 : ไทยเซ็นรับรอง แผนที่แนบท้าย
- กำหนด เงื่อนไข ในการปักปันเขตแดน
เหนือเส้น ละติจูด 11 องศา พื้นที่ 1 หมื่น
ตารางกิโลเมตร บริเวณ ด้านใต้เกาะกูด
ทะเลอ่าวไทย และ ...
- กำหนด พื้นที่ พัฒนาร่วม แบ่งปันผลประโยชน์ น้ำมัน และ ก๊าซ ใต้เส้น
ละติจูด 11 องศาเหนือ พื้นที่ 1 หมืน 6
พัน ตารางกิโลเมตร
โดยไม่มีการ พิสูจน์ ปักปันเขตแดน ให้แล้วเสร็จ ก่อนแบ่งปัน ผลประโยชน์
เสียทั้งพื้นที่ น้ำมัน และ ก๊าซ
เรียกว่าเสียค่าโง่ ให้ กัมพูชา ทั้ง
- MOU 43 และ MOU 44
แผนที่แนบท้าย MOU 44
ภาพ เปรียบเทียบ
แผนที่ทะเลอ่าวไทย ก่อน มี MOU 44
และ หลัง มี MOU 44
NO. COW
เขตแดน ไทยกัมพูชา ทั้ง 2 ประเทศ ตกลงกันตาม MOU43 ใช้แผนที่ ฝรั่งเศสสยาม คศ.1904 : ฮุน มาเนต