เหตการณ์ที่ผ่านมา เป็นสิ่งที่พอจะคาดการณ์ได้ และ วางแผนป้องกันได้เชิงนโยบาย จากข้อมูล ดังนี้
1.เนื่องจาก หน่วยงานรัฐยืนยันว่า ทราบความเป็นไปได้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 มาแล้วตั้งแต่
ช่วงปี 2566 โดยมีการประชุมร่วมกันหลายฝ่าย ทั้งฝ่ายกรมทรัพยการธรณี กรมโยธาและผังเมือง มหาดไทยและอื่นๆ
(อ้างอิง)
22 june 2023
A major active fault in Myanmar could still trigger a 7.5-magnitude earthquake in 5-10 years, but will cause no serious damage to Thailand, the Mineral Resources Department said on Thursday.
Oranuch Lorpensri, director-general of the eepartment, said the Sagaing Fault in Myanmar is still active and it could unleash enough power to trigger an earthquake with up to 7.5 magnitude in about 5-10 years
https://www.nationthailand.com/thailand/general/40028777
2. การเตือนภัยของทุ่นซึนามิ ตั้งแต่เวลา 12:00 ของวันที่ 28 มีนาคม 2568
user facebook ท่านหนึ่ง ที่ได้โพสเรื่องนี้ไว้จากสังเกต
🌊
เวลาการแจ้งเตือนจากทุ่นในมหาสมุทรอินเดีย
(ตามตำแหน่งที่ระบุในแผนที่)
🟨 ทุ่นที่ 1:
12.00
🟨 ทุ่นที่ 2:
12.00
🟨 ทุ่นที่ 3:
12.18
🟨 ทุ่นที่ 4:
12.23
🟨 ทุ่นที่ 5:
13.20
🟨 ทุ่นที่ 6:
13.23

อ้างอิง
https://www.facebook.com/csomporn
มีตัวอย่างความเห็น เช่น
ถ้าดูตามกาลานุกรมของทุ่น เหมือนเกิดการเคลื่อนตัวของแผ่นทวีปในทะเลอันดามันก่อนเคลื่อนตัวขึ้นพม่านะครับ
คะเนว่าเกิดกระดานหก(ในทะเล)โดยปักหัวจมลงลึก แล้วท้ายแผ่น(ที่พม่า-มัณฑะเลย์) กระดกขึ้น อารมณ์พระแม่ธรณีประมาณนั้น ไหมครับ
ความเห็นสมาชิกท่านหนึ่ง
3. เหตุแผ่นดินไหวโดยรอบ และ การแจ้งเตือน ประชาชนในพม่าด้วยกัน
ในระยะเวลาใกล้ๆกัน มีการแจ้งเตือน แผ่นดินไหวโดยรอบ เป็นจำนวนมาก และเกิดขึ้นถี่อย่างมีนัยยะสำคัญ รวมทั้งการแจ้งเตือนภายในของ หน่วยงานในพม่าเอง รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ซึ่ง เราสามารถนำข้อมูเหล่านี้นี้มาร่วมเฝ้าวังได้
https://www.facebook.com/worldearthquakes
4. ท่านรู้ว่ารอยเลื่อนสกายส่งผลกระทบต่อประเทศไทย แต่ไม่มีเจ้าหน้าเฝ้าระวัง และแจ้งปัญหา เมื่อเกิดปัญหา
ประชาชนได้รับข้อความแนะนำ หลังจากปัญหาเกิดไปแล้วตั้งแต่ สี่ชั่วโมงถึง สิบสอบชั่วโมงจากรัฐ
ในขณะที่เพจ เกม เพจข่าวสามารถแจ้งเตือนได้ เร็วกว่ารัฐบาล
ดังนั้น เมื่อเราพูดถึงการเตือนภัย คำว่าระบบเตือนภัย มันจึงไม่ได้หมายถึง
ระบบเดียว มันมีทั้งระบบทางเทคนิค และ ระบบทางนโยบาย
ระบบเหล่านี้มีเป้าหมายเพื่อที่จะ ทำให้ที่รัฐใช้ข้อมูลทุกอย่างเพื่อ ลดความเสี่ยงในชีวิตและทรัพย์สินให้กับประชาชน และ สิ่งที่เป็นสาธารณะประโยชน์
ผ่านการพัฒนา แผ่น นโยบาย ยุทธศาสตร์ อื่นๆ
การเตือนภัย เกี่ยวกับ แผ่นดินไหว ระบบจึงมีสองแบบ คือ
1.ระบบเตือนภัยล่วงหน้าเชิงนโยบาย (Policy-Based Early Warning)
กับ
2. ระบบเตือนภัยแบบวินาที (Real-time EEWS)
น้ำท่วมกรุงเทพ สิ่งที่ต้องมอง ไม่ใช่แค่ ปริมาณน้ำฝนในกรุงเทพ แต่รวมถึงปริมาณน้ำเหนือ
จากข้อมูลที่นี้ เชื่อว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีข้อมูลอยู่ก่อนแล้วว่า รอยเลื่อนสะกาย
การเปลี่ยนแปลงในทุ่นในมหาสมุทธ รูปแบบชั้นดินของกรุงเทพ ที่จะขยายความรุนแรง
ล้วนแต่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นในไทย ได้ทั้งสิ้น
เพราะท่านรู้ก่อนแล้วว่า รอยเลื่อนเป็นจุดเสี่ยง ย่อมสามารถเฝ้าระวังได้
เช่นการติดตามเฝ้าระวัง รอยเลื่อนสกาย และ รายงานทันทีเมื่อรอยเลื่อนเปลีย่นแปลงเป็นต้น
ดังนั้นการบอกว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้เลย หรือกำหนดนโยบายเพื่อลดความเสียหาย
จึงเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และ พยายามปัดปัญหาสำคัญของจากรัฐที่ควรเตือนประชาชน
ตัวอย่างการเตือนภัยล่วงหน้าเชิงนโยบายอื่นๆ เช่น
-การทำแผนพื้นที่เสี่ยง
-การเข้มงวดตรวจสอบเรื่องโครงสร้างอาคารต่างๆ
-หรือการทำให้ภาคประชาชนตระหนักรู้ถึงความเสี่ยง
-อื่นๆ
การวางแผนเชิงเทคนิคอื่นๆเช่น
-การแจ้งเตือนเข้ามือถือ ประชาชนตอนที่เกิดเหตุ เพื่อให้แนวปฏิบัติ
-การจัดการอื่นๆ เมื่อเกิดความโกลาหล
ปัญหาคือ นักวิชการส่วนใหญ่ ไม่ยอมรับ และไม่พยามถอดบทเรียน ทุกฝ่ายยังเอาแต่พูดว่า ข้อมูลนี้ไม่สามารถคาดการณ์ได้
โดย ทำเป็นมองไม่เห็น การประชุมในปี 2023 ของหน่วยงานต่างๆ
ตั้งแต่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนถึงนักวิชาการอิสระแม้จะเป็นนักวิชาการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยระดับต้นๆของประเทศ
ซึ่งสะท้อนถึงปัญหา การจัดการของประเทศไทยอย่างมาก
อยากจะฝากท่านว่าปัญหาพวกนี้ ไม่ควรจะต้องให้ประชาชน
มานั่งอธิบายว่าท่านทำอะไรได้บ้าง
ตั้งแต่น้ำท่วมใหญ่ จนถึงปัจจุบัน ภาคประชาชนต้องพึ่งตัวเองเป็นหลักโดยตลอด
แม้ระบบ และงบประมาณจะลงไปภายหลังจำนวนมากแต่
แต่ปัจจุบัน ระบบ การจัดการภัยพิบัติของประเทศไทย ยังไม่ได้พัฒนามากไปกว่าเดิม
เรายังสูญเสียมาโดยตลอด
เราไม่ได้ต้องการตำหนิท่านแต่ขอให้ท่านตระหนักถึงหน้าที่ ต่อแผ่นดิน ต่อประชาชน
และต่อตัวท่านเอง ในการใช้อำนาจของรัฐบาล ในการปกป้อง ประชาน และ สาธารณะประโยชน์ของรัฐ
ด้วยศักยภาพที่เรามีต่อไป
แนวทางการวางแผน ป้องกันแผ่นดินไหวล่วงหน้า เชิงนโยบาย
1.เนื่องจาก หน่วยงานรัฐยืนยันว่า ทราบความเป็นไปได้ว่าจะเกิดเหตุการณ์ในวันที่ 28 มีนาคม 2568 มาแล้วตั้งแต่
ช่วงปี 2566 โดยมีการประชุมร่วมกันหลายฝ่าย ทั้งฝ่ายกรมทรัพยการธรณี กรมโยธาและผังเมือง มหาดไทยและอื่นๆ
(อ้างอิง)
22 june 2023
A major active fault in Myanmar could still trigger a 7.5-magnitude earthquake in 5-10 years, but will cause no serious damage to Thailand, the Mineral Resources Department said on Thursday.
https://www.nationthailand.com/thailand/general/40028777
2. การเตือนภัยของทุ่นซึนามิ ตั้งแต่เวลา 12:00 ของวันที่ 28 มีนาคม 2568
user facebook ท่านหนึ่ง ที่ได้โพสเรื่องนี้ไว้จากสังเกต
🌊 เวลาการแจ้งเตือนจากทุ่นในมหาสมุทรอินเดีย
(ตามตำแหน่งที่ระบุในแผนที่)
🟨 ทุ่นที่ 2: 12.00
🟨 ทุ่นที่ 3: 12.18
🟨 ทุ่นที่ 4: 12.23
🟨 ทุ่นที่ 5: 13.20
🟨 ทุ่นที่ 6: 13.23
อ้างอิง https://www.facebook.com/csomporn
มีตัวอย่างความเห็น เช่น ถ้าดูตามกาลานุกรมของทุ่น เหมือนเกิดการเคลื่อนตัวของแผ่นทวีปในทะเลอันดามันก่อนเคลื่อนตัวขึ้นพม่านะครับ
3. เหตุแผ่นดินไหวโดยรอบ และ การแจ้งเตือน ประชาชนในพม่าด้วยกัน
ในระยะเวลาใกล้ๆกัน มีการแจ้งเตือน แผ่นดินไหวโดยรอบ เป็นจำนวนมาก และเกิดขึ้นถี่อย่างมีนัยยะสำคัญ รวมทั้งการแจ้งเตือนภายในของ หน่วยงานในพม่าเอง รวมทั้งพื้นที่อื่นๆ ซึ่ง เราสามารถนำข้อมูเหล่านี้นี้มาร่วมเฝ้าวังได้
https://www.facebook.com/worldearthquakes
4. ท่านรู้ว่ารอยเลื่อนสกายส่งผลกระทบต่อประเทศไทย แต่ไม่มีเจ้าหน้าเฝ้าระวัง และแจ้งปัญหา เมื่อเกิดปัญหา
ประชาชนได้รับข้อความแนะนำ หลังจากปัญหาเกิดไปแล้วตั้งแต่ สี่ชั่วโมงถึง สิบสอบชั่วโมงจากรัฐ
ในขณะที่เพจ เกม เพจข่าวสามารถแจ้งเตือนได้ เร็วกว่ารัฐบาล
ระบบเดียว มันมีทั้งระบบทางเทคนิค และ ระบบทางนโยบาย
น้ำท่วมกรุงเทพ สิ่งที่ต้องมอง ไม่ใช่แค่ ปริมาณน้ำฝนในกรุงเทพ แต่รวมถึงปริมาณน้ำเหนือ
จากข้อมูลที่นี้ เชื่อว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีข้อมูลอยู่ก่อนแล้วว่า รอยเลื่อนสะกาย
การเปลี่ยนแปลงในทุ่นในมหาสมุทธ รูปแบบชั้นดินของกรุงเทพ ที่จะขยายความรุนแรง
ล้วนแต่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้นในไทย ได้ทั้งสิ้น
เพราะท่านรู้ก่อนแล้วว่า รอยเลื่อนเป็นจุดเสี่ยง ย่อมสามารถเฝ้าระวังได้
เช่นการติดตามเฝ้าระวัง รอยเลื่อนสกาย และ รายงานทันทีเมื่อรอยเลื่อนเปลีย่นแปลงเป็นต้น
ดังนั้นการบอกว่า แผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่สามารถบอกล่วงหน้าได้เลย หรือกำหนดนโยบายเพื่อลดความเสียหาย
จึงเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และ พยายามปัดปัญหาสำคัญของจากรัฐที่ควรเตือนประชาชน
ตัวอย่างการเตือนภัยล่วงหน้าเชิงนโยบายอื่นๆ เช่น
การวางแผนเชิงเทคนิคอื่นๆเช่น
-การแจ้งเตือนเข้ามือถือ ประชาชนตอนที่เกิดเหตุ เพื่อให้แนวปฏิบัติ
ปัญหาคือ นักวิชการส่วนใหญ่ ไม่ยอมรับ และไม่พยามถอดบทเรียน ทุกฝ่ายยังเอาแต่พูดว่า ข้อมูลนี้ไม่สามารถคาดการณ์ได้
โดย ทำเป็นมองไม่เห็น การประชุมในปี 2023 ของหน่วยงานต่างๆ
ตั้งแต่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จนถึงนักวิชาการอิสระแม้จะเป็นนักวิชาการ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยระดับต้นๆของประเทศ
ซึ่งสะท้อนถึงปัญหา การจัดการของประเทศไทยอย่างมาก
อยากจะฝากท่านว่าปัญหาพวกนี้ ไม่ควรจะต้องให้ประชาชน
มานั่งอธิบายว่าท่านทำอะไรได้บ้าง
ตั้งแต่น้ำท่วมใหญ่ จนถึงปัจจุบัน ภาคประชาชนต้องพึ่งตัวเองเป็นหลักโดยตลอด
แม้ระบบ และงบประมาณจะลงไปภายหลังจำนวนมากแต่
แต่ปัจจุบัน ระบบ การจัดการภัยพิบัติของประเทศไทย ยังไม่ได้พัฒนามากไปกว่าเดิม
เรายังสูญเสียมาโดยตลอด
เราไม่ได้ต้องการตำหนิท่านแต่ขอให้ท่านตระหนักถึงหน้าที่ ต่อแผ่นดิน ต่อประชาชน
และต่อตัวท่านเอง ในการใช้อำนาจของรัฐบาล ในการปกป้อง ประชาน และ สาธารณะประโยชน์ของรัฐ
ด้วยศักยภาพที่เรามีต่อไป