เราพึ่งติดปีนี้ไปเป็น class of 2028 นะ กระทู้มีแนะนําสองส่วนคือการเตรียมตัวสอบเข้า และ หลักสูตร
การเตรียมตัวสอบเข้า
การสอบเข้าก็ใช้คะแนน MCAT statement of purpose IELTS/TOEFL CV recommendation letters
MCAT Preparation
รายละเอียด MCAT : ทุกพาร์ทคะแนนเท่ากัน
Chemical and Physical Foundations of Biological Systems (C/P)
Critical Analysis and Reasoning Skills (CARS)
Biological and Biochemical Foundations of Living Systems (B/B)
Psychological, Social, and Biological Foundations of Behavior (P/S)
Materials
MCAT Complete 7-Book Subject Review ของ Kaplan ทุกเล่มยกเว้น Critical Analysis and Reasoning Skills กะ Behavorial Science
KA P/S - The Lazy OCD 86 pg. Version
AAMC MCAT Official Prep Online-Only Bundle | 1-Year Subscription
Anki Deck มีให้เลือกหลายอันมากๆแต่เราใช้อันนี้ Jacksparrow2048 กินเวลาหน่อยแต่เราว่าดึกว่าcloze deletion ของบางdeck
Timing Management
เราเรียนเองทั้งหมด ไม่ได้กวดวิชา เราไม่ได้เรียนป.ตรีสายวิทย์สุขภาพ แต่ม.ปลายเรียนวิทย์คณิตก็เลยมีบุญเก่าบ้าง ช่วงเตรียมตัวสอบก็คือทํางานแล้วฉะนั้นเวลาเลยไม่ค่อยเยอะ ส่วนใหญ่เราใช้วิธีหักดิบโต้รุ่งถ้ามันเลยdeadlineที่ตั้งไว้มาเยอะมากๆ แต่ก็ไม่ดีนะเสียสุขภาพ555 มีวินัยสําคัญที่สุดควรตั้งtimelineชัดเจนว่าจะอ่านวิชานี้จบตอนไหน เช่นตั้งไว้ว่าจะจบbiochemภายในอาทิตย์นี้ก็ควรไม่เลทมากเกินจากนั้น จริงๆก็ไม่ควรใช้เวลาเตรียมนานมากจนเกินไปเพื่อsimulateว่าสามารถรับมือกับpacingในคณะแพทย์ได้ไหม สุดท้ายเราใช้เวลาเกือบทั้งช่วงเตรียมสอบใน content phase แต่ก็มีสลับมาทํา ใน practice phase ด้วย ถ้าย้อนกลับไปได้จะเตรียมตัวให้เร็วขึ้น + มีวินัยในการอ่านมากกว่านี้ + ยก practice phase ขึ้นมาทําเร็วขึ้นเพื่อให้อ่านได้ตรงจุดมากขึ้น
Content Phase
ช่วงแรกคือเก็บเนื้อหา สําหรับคนที่ไม่ได้เรียน premed major ก็แนะนําให้เผื่อเวลาตรงนี้ไว้อย่างน้อย 6 เดือนแบบอ่านอย่างเดียวไม่ทํางานอื่นจะได้ไม่หนักมากเหมือนเราT_T
ช่วงนี้สําคัญมากๆ ถ้าเนื้อหาไม่แน่นรู้เทคนิคการทําข้อสอบเยอะๆก็ไม่ช่วยอัพคะแนนได้เยอะ อย่างเราตอนแรกกะจะเก็บเนื้อหาจบภายใน 7 สัปดาห์กลายเป็นใช้เวลาเกือบ3เดือน ได้mock test แค่2ชุด ตรงนี้ก็เป็นเหตุผลที่คะแนนเราอาจไม่ดีมาก ถ้ามีอีกเดือนนึงจะอัพได้เยอะ เพราะข้อสอบก็จะมีแนวของมัน
Kaplan เก็บพาร์ท c/p และ b/b: เราว่าไม่จําเป็นต้องทํา assessment ต้นบท เพราะมันไม่ค่อยตรงแนวข้อสอบ หลังอ่านจบแต่ละบทให้ไปทําanki deckของบทนั้นๆ อันนี้ช่วยspace repetition แล้วตัวคําถามเป็นopen ended ช่วยเรื่องactive recall (เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดตามงานวิจัย)
ทําให้ครบทุกบทและเก็บanki deck ให้ครบจนมันmature รายละเอียดวิธีใช้ankiดูได้ที่นี่ซึ่งมันก็มีประโยชน์มากๆเมื่อเข้าเรียนคณะแพทย์แล้วเช่นกัน
P/S: อันนี้เป็นเอกสารแบบย่อ86หน้าจากkhan academy ทั้งหมด300หน้า ตัวแบบย่อจะตอบไม่ได้ทุกข้อในP/S มีบางส่วนที่เอาออกไป แต่ถ้าจะเข้าcu-mediเราว่าพอ จําให้ได้หมดละกัน555 ส่วนตัวเราก็จําไปไม่ค่อยเยอะนะ เราว่าพาร์ทนี้เป็นพาร์ทที่อัพคะแนนให้เกือบเต็มง่ายสุดถ้ามีเวลาท่องจํา
Part CARS ทําโจทย์ + ดูคราวๆว่าโจทย์ออกแนวไหน + ดูวิธีapproachบนyoutube ส่วนตัวคิดว่าความยากในการอ่านตีความของpassage ไม่เท่า sat reading + เวลาเยอะกว่าด้วยต่อข้อแต่มันทําบนคอมก็จะไม่ค่อยถนัด อันนี้ก้มีanki เช่นกัน ทําด้วยๆ
Practice Phase
ช่วงสองคือตะลุยโจทย์ เราทําแค่ของaamc bundle เพราะเวลาไม่พอ เท่าที่ศึกษา uworld ก็ดีเหมือนกันทําด้วยก้ดีถ้าเวลาเหลือ
เราทํา qpack ก่อนแต่ก็ทําไม่หมดทําหมดแค่chem physicsทําไป2/3 bio cars แทบไม่ได้แตะ section bankไม่ถึงครึ่ง อยากให้ prioritize แบบนี้ FL > Section bank > Qpack
FL อยากให้จําลองเหมือนจริงตามเวลาที่สอบตั้งแต่เช้าเลย
ส่วนตัวพอรู้range คะแนนว่าหลักสูตรไม่ต้องการสูงมากเหมือนmedical school ที่อเมริกาก็เลยคิดว่าเวลาที่เหลือนี้ก็น่าพอเตรียมยื่นได้ ทําให้เกิน500จะsafeกว่าเพราะเค้าก็ดูอย่างอื่นประกอบด้วย 500สูงไหมอาจนึกภาพไม่ออก สําหรับปีเราจะเป็น46th percentile
ทั้งนี้ทั้งนั้นคะแนนไม่ใช่เพียงอย่างเดียวในการพิจารณาเข้าเรียน ฉะนั้นไม่ต้องกังวล ลองยื่นก่อนได้
IELTS/TOEFL: เราใช้อันที่เอาไปยื่นป.ตรีเลยไม่ต้องสอบใหม่
Statement of purpose , CV: เขียนเหตุผล+ประสบการณ์ของตัวเองได้เลยๆ
Recommendation letter: ขอคนที่รู้จักการทํางานของเรา
หลักสูตร
ถ้าให้อธิบายโดยย่อว่าต่างจากภาคไทยยังไงหลักๆ
1. หลักสูตรนี้จะวนที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยเป็นหลัก มีบาง minor ward ที่จะวนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยเนื่องจากไม่มีwardนั้นที่ศรีราชา ข้อดีคือมีโอกาสได้เจอ case ที่ไม่ซับซ้อนจนเกินไปเหมือนที่จุฬา เหมาะให้นิสิตได้เรียนรู้ เหมือนที่รามาให้นิสิตไปวนที่สถาบันจักรีนฤบดินทร์ด้วย
2. หลักสูตรจะไม่มีบังคับวนบางminor wardเช่นจักษุ เวชศาสตร์ชุมชน เหมือนหลักสูตรไทยช่วงclerkship
3. มีโอกาสได้ทําวิจัยช่วง pre-clerkship ถ้าให้เปรียบเทียบก็คงเหมือนนิสิตในโครงการเพชรชมพู
4. มี international clinical experience ช่วง externship 2 เดือน
5. สอบศรวขั้น 1,2,3 ตอนจบปี2,3,4 ตามลําดับ
6. มีทั้งวิชาที่เป็นS/Uกะตัดเกรด ต่ากจากภาคไทยที่เริ่มปีนี่เป็นS/U ตาม medical school หลายๆที่ที่อเมริกา
7. ไม่มีสัญญาผูกมัดใช้ทุนหลังเรียนจบ แต่ผู้ที่ต้องการเรียนต่อเฉพาะทางในหลายๆสาขาอาจทั้งหมดยังต้องมีใบเพิ่มพูนทักษะจากการทํางานเป็นแพทย์เพิ่มพูนทักษะหรือintern1อยู่ดี
หวังว่ากระทู้นี้จะเป็นประโยชน์กับน้องๆทุกคนนะ ผิดพลาดอะไรตรงไหนบอกกันได้นะ มีคําถามอะไรทิ้งไว้ด้านล่างได้เลยย
แนะแนวสอบติด หลักสูตรแพทย์อินเตอร์ CU-MEDi ใน 3 เดือน (แต่ไม่แนะนํานะ)
การเตรียมตัวสอบเข้า
การสอบเข้าก็ใช้คะแนน MCAT statement of purpose IELTS/TOEFL CV recommendation letters
MCAT Preparation
รายละเอียด MCAT : ทุกพาร์ทคะแนนเท่ากัน
Chemical and Physical Foundations of Biological Systems (C/P)
Critical Analysis and Reasoning Skills (CARS)
Biological and Biochemical Foundations of Living Systems (B/B)
Psychological, Social, and Biological Foundations of Behavior (P/S)
Materials
MCAT Complete 7-Book Subject Review ของ Kaplan ทุกเล่มยกเว้น Critical Analysis and Reasoning Skills กะ Behavorial Science
KA P/S - The Lazy OCD 86 pg. Version
AAMC MCAT Official Prep Online-Only Bundle | 1-Year Subscription
Anki Deck มีให้เลือกหลายอันมากๆแต่เราใช้อันนี้ Jacksparrow2048 กินเวลาหน่อยแต่เราว่าดึกว่าcloze deletion ของบางdeck
Timing Management
เราเรียนเองทั้งหมด ไม่ได้กวดวิชา เราไม่ได้เรียนป.ตรีสายวิทย์สุขภาพ แต่ม.ปลายเรียนวิทย์คณิตก็เลยมีบุญเก่าบ้าง ช่วงเตรียมตัวสอบก็คือทํางานแล้วฉะนั้นเวลาเลยไม่ค่อยเยอะ ส่วนใหญ่เราใช้วิธีหักดิบโต้รุ่งถ้ามันเลยdeadlineที่ตั้งไว้มาเยอะมากๆ แต่ก็ไม่ดีนะเสียสุขภาพ555 มีวินัยสําคัญที่สุดควรตั้งtimelineชัดเจนว่าจะอ่านวิชานี้จบตอนไหน เช่นตั้งไว้ว่าจะจบbiochemภายในอาทิตย์นี้ก็ควรไม่เลทมากเกินจากนั้น จริงๆก็ไม่ควรใช้เวลาเตรียมนานมากจนเกินไปเพื่อsimulateว่าสามารถรับมือกับpacingในคณะแพทย์ได้ไหม สุดท้ายเราใช้เวลาเกือบทั้งช่วงเตรียมสอบใน content phase แต่ก็มีสลับมาทํา ใน practice phase ด้วย ถ้าย้อนกลับไปได้จะเตรียมตัวให้เร็วขึ้น + มีวินัยในการอ่านมากกว่านี้ + ยก practice phase ขึ้นมาทําเร็วขึ้นเพื่อให้อ่านได้ตรงจุดมากขึ้น
Content Phase
ช่วงแรกคือเก็บเนื้อหา สําหรับคนที่ไม่ได้เรียน premed major ก็แนะนําให้เผื่อเวลาตรงนี้ไว้อย่างน้อย 6 เดือนแบบอ่านอย่างเดียวไม่ทํางานอื่นจะได้ไม่หนักมากเหมือนเราT_T
ช่วงนี้สําคัญมากๆ ถ้าเนื้อหาไม่แน่นรู้เทคนิคการทําข้อสอบเยอะๆก็ไม่ช่วยอัพคะแนนได้เยอะ อย่างเราตอนแรกกะจะเก็บเนื้อหาจบภายใน 7 สัปดาห์กลายเป็นใช้เวลาเกือบ3เดือน ได้mock test แค่2ชุด ตรงนี้ก็เป็นเหตุผลที่คะแนนเราอาจไม่ดีมาก ถ้ามีอีกเดือนนึงจะอัพได้เยอะ เพราะข้อสอบก็จะมีแนวของมัน
Kaplan เก็บพาร์ท c/p และ b/b: เราว่าไม่จําเป็นต้องทํา assessment ต้นบท เพราะมันไม่ค่อยตรงแนวข้อสอบ หลังอ่านจบแต่ละบทให้ไปทําanki deckของบทนั้นๆ อันนี้ช่วยspace repetition แล้วตัวคําถามเป็นopen ended ช่วยเรื่องactive recall (เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ดีที่สุดตามงานวิจัย)
ทําให้ครบทุกบทและเก็บanki deck ให้ครบจนมันmature รายละเอียดวิธีใช้ankiดูได้ที่นี่ซึ่งมันก็มีประโยชน์มากๆเมื่อเข้าเรียนคณะแพทย์แล้วเช่นกัน
P/S: อันนี้เป็นเอกสารแบบย่อ86หน้าจากkhan academy ทั้งหมด300หน้า ตัวแบบย่อจะตอบไม่ได้ทุกข้อในP/S มีบางส่วนที่เอาออกไป แต่ถ้าจะเข้าcu-mediเราว่าพอ จําให้ได้หมดละกัน555 ส่วนตัวเราก็จําไปไม่ค่อยเยอะนะ เราว่าพาร์ทนี้เป็นพาร์ทที่อัพคะแนนให้เกือบเต็มง่ายสุดถ้ามีเวลาท่องจํา
Part CARS ทําโจทย์ + ดูคราวๆว่าโจทย์ออกแนวไหน + ดูวิธีapproachบนyoutube ส่วนตัวคิดว่าความยากในการอ่านตีความของpassage ไม่เท่า sat reading + เวลาเยอะกว่าด้วยต่อข้อแต่มันทําบนคอมก็จะไม่ค่อยถนัด อันนี้ก้มีanki เช่นกัน ทําด้วยๆ
Practice Phase
ช่วงสองคือตะลุยโจทย์ เราทําแค่ของaamc bundle เพราะเวลาไม่พอ เท่าที่ศึกษา uworld ก็ดีเหมือนกันทําด้วยก้ดีถ้าเวลาเหลือ
เราทํา qpack ก่อนแต่ก็ทําไม่หมดทําหมดแค่chem physicsทําไป2/3 bio cars แทบไม่ได้แตะ section bankไม่ถึงครึ่ง อยากให้ prioritize แบบนี้ FL > Section bank > Qpack
FL อยากให้จําลองเหมือนจริงตามเวลาที่สอบตั้งแต่เช้าเลย
ส่วนตัวพอรู้range คะแนนว่าหลักสูตรไม่ต้องการสูงมากเหมือนmedical school ที่อเมริกาก็เลยคิดว่าเวลาที่เหลือนี้ก็น่าพอเตรียมยื่นได้ ทําให้เกิน500จะsafeกว่าเพราะเค้าก็ดูอย่างอื่นประกอบด้วย 500สูงไหมอาจนึกภาพไม่ออก สําหรับปีเราจะเป็น46th percentile
ทั้งนี้ทั้งนั้นคะแนนไม่ใช่เพียงอย่างเดียวในการพิจารณาเข้าเรียน ฉะนั้นไม่ต้องกังวล ลองยื่นก่อนได้
IELTS/TOEFL: เราใช้อันที่เอาไปยื่นป.ตรีเลยไม่ต้องสอบใหม่
Statement of purpose , CV: เขียนเหตุผล+ประสบการณ์ของตัวเองได้เลยๆ
Recommendation letter: ขอคนที่รู้จักการทํางานของเรา
หลักสูตร
ถ้าให้อธิบายโดยย่อว่าต่างจากภาคไทยยังไงหลักๆ
1. หลักสูตรนี้จะวนที่โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทยเป็นหลัก มีบาง minor ward ที่จะวนที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยเนื่องจากไม่มีwardนั้นที่ศรีราชา ข้อดีคือมีโอกาสได้เจอ case ที่ไม่ซับซ้อนจนเกินไปเหมือนที่จุฬา เหมาะให้นิสิตได้เรียนรู้ เหมือนที่รามาให้นิสิตไปวนที่สถาบันจักรีนฤบดินทร์ด้วย
2. หลักสูตรจะไม่มีบังคับวนบางminor wardเช่นจักษุ เวชศาสตร์ชุมชน เหมือนหลักสูตรไทยช่วงclerkship
3. มีโอกาสได้ทําวิจัยช่วง pre-clerkship ถ้าให้เปรียบเทียบก็คงเหมือนนิสิตในโครงการเพชรชมพู
4. มี international clinical experience ช่วง externship 2 เดือน
5. สอบศรวขั้น 1,2,3 ตอนจบปี2,3,4 ตามลําดับ
6. มีทั้งวิชาที่เป็นS/Uกะตัดเกรด ต่ากจากภาคไทยที่เริ่มปีนี่เป็นS/U ตาม medical school หลายๆที่ที่อเมริกา
7. ไม่มีสัญญาผูกมัดใช้ทุนหลังเรียนจบ แต่ผู้ที่ต้องการเรียนต่อเฉพาะทางในหลายๆสาขาอาจทั้งหมดยังต้องมีใบเพิ่มพูนทักษะจากการทํางานเป็นแพทย์เพิ่มพูนทักษะหรือintern1อยู่ดี
หวังว่ากระทู้นี้จะเป็นประโยชน์กับน้องๆทุกคนนะ ผิดพลาดอะไรตรงไหนบอกกันได้นะ มีคําถามอะไรทิ้งไว้ด้านล่างได้เลยย