จีนเก่า แน่ๆ คือ จีนที่ยังเป็น ราชวงศ์ชิง หรือก่อนหน้านั่น ยังไม่มี รัฐประชาชาติ ไม่ใช่ Nation state ปชช.ยังไม่มีสำนึกว่าตัวเองคือเจ้าของชาติ ยังไม่มีสำนึกร่วมความเป็นชาตินิยมจีนเดียวกันแน่ๆ และ บรรพบุรุษจีนเก่าในไทย ที่อพยพมา ยังพูดภาษาจีนถิ่น ฮกเกี้ยน แต้จิ๋ว ไหหลำ กวางตุ้ง แคะ ไม่ได้พูดภาษาจีนกลาง
แน่นอนว่าจีน แต่ละยุค มีสำนึก ความเข้มข้น ชาตินิยม หรือ สำนึกร่วม ที่ต่างกัน เราแยกจีนใหม่ กันที่ปีไหน ?
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ปฏิวัติชินไห่ ปี1912 ก่อตั้ง สาธารณรัฐจีน ธง "ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ" (Five Races Under One Union)
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ตั้ง สาธารณรัฐจีน(พรรคก๊กมินตั๋ง) ปี1925 ปีเดียวกับการเริ่มกำหนด ภาษาจีนกลาง เป็นภาษาทางการของชาติ ยุคสร้างความรู้สึกร่วมชาตินิยมจีนเดียว
ปี1924 ภาษาจีนกลาง คือเครื่องมือรัฐ ใช้สร้างสำนึกชาตินิยมจีนเดียว ภาษามีความสำคัญมากในการสร้างสำนึกและพฤติกรรมของคนในชาติ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้https://en.wikipedia.org/wiki/National_language#China
After the Xinhai Revolution in 1911, the Kuomintang (Chinese nationalists) founded the Republic of China. In order to promote a sense of national unity and enhance the efficiency of communications within the nation, the government decided to designate a national language. The Beijing dialect of Mandarin and Guangzhou dialect of Cantonese were each proposed as the basis for a national language for China.[citation needed] In the beginning, there were attempts to introduce elements from other Chinese varieties into the national language in addition to those from the Beijing dialect; this was reflected in the first official dictionary of the national language, given the name 國語 (Pinyin: Guóyǔ, literally "national language"). But this artificial language had no native speakers and was difficult to learn, so it was abandoned in 1924. Ultimately, the Beijing dialect was chosen as the national language and it continued to be referred to as 國語 in Chinese in the Republic of China. Since then, the Beijing dialect has become the main standard for pronunciation, due to its prestigious status during the
หลังการปฏิวัติซินไห่ในปี พ.ศ. 2454 ก๊กมินตั๋ง (ผู้รักชาติจีน) ได้ก่อตั้งสาธารณรัฐจีน เพื่อส่งเสริมความรู้สึกความสามัคคีของชาติและเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสารภายในประเทศ รัฐบาลจึงตัดสินใจกำหนดภาษาประจำชาติ ภาษาปักกิ่งของภาษาจีนกลางและภาษากวางตุ้งของกวางตุ้งแต่ละภาษาถูกเสนอให้เป็นพื้นฐานสำหรับภาษาประจำชาติของจีน ในตอนแรก มีความพยายามที่จะแนะนำองค์ประกอบจากภาษาจีนพันธุ์อื่น ๆ ให้เป็นภาษาประจำชาติ นอกเหนือจากที่มาจาก ภาษาปักกิ่ง สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นในพจนานุกรมอย่างเป็นทางการฉบับแรกของภาษาประจำชาติ โดยใช้ชื่อว่า 國語 (พินอิน: Guóyǔ แปลว่า "ภาษาประจำชาติ") แต่ภาษาประดิษฐ์นี้ไม่มีเจ้าของภาษาและเรียนรู้ได้ยาก จึงถูกละทิ้งไปในปี 1924 ในที่สุด ภาษาปักกิ่งก็ได้รับเลือกให้เป็นภาษาประจำชาติ และยังคงถูกเรียกว่า 國語 ในภาษาจีนในสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่นั้นมา ภาษาปักกิ่งก็กลายเป็นมาตรฐานหลักในการออกเสียง เนื่องจากมีสถานะอันทรงเกียรติในสมัยราชวงศ์ชิงก่อนหน้านี้
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ตั้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน(พรรคคอม) ปี1949 (อันนี้ในทางวิชาการ จีนศึกษาในไทย ใช้เรียกจีนใหม่ๆ)
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ปฏิวัติวัฒนธณรม และปิดประเทศไป30 ปี 1978 (อันนี้ทางการจีนเองเริ่มเรียกจีนใหม่)
อย่างคนไทยจีน ที่มีพัฒนาการร่วมกับสังคมไทยที่ต่างกัน รุ่นมาก่อน-หลัง ก็ไม่เหมือนกัน
บางคน identify ตัวเองเป็นคนไทย ไปเลย(ไม่พ่วง) แต่ก็เล่าได้ว่ามีเชื้อสายจีน เสี้ยวจีน เป็นคนไทยแบบในสังคมไทยทั่วๆไปไม่สนใจเรื่องเชื้อสายมากนัก
บางคน identify ตัวเองเป็น คนไทยเชื้อสายจีน เป็นคนที่มีลักษณเป็นคนจีน แต่ก็รู้สึกเป็นคนไทย ด้วยการอยู่ในสังคมไทยมานาน
บางคน identify ตัวเอง เป็นคนจีน แค่มี สัญชาติไทย ไม่ได้รู้สึกตัวเองเป็นคนไทยในแง่คนไทยทั่วๆไป
ภาษาจีนกลาง ไม่ใช่ภาษาบรรพบุรุษ แต่เพิ่งมาเรียนกันทีหลัง และน่าเป็นกระแส เทรนจากการสร้างสำนึกชาตินิยมสมัย1925 เป็นต้นมามากกว่า กระแสนี้เลยมาตกอยู่ใน SEAs ด้วย ที่ก็เริ่มทยอย สอนภาษาจีนกลาง

คลิปนี้ identify ตัวเอง ของ คนไต้หวัน
จีนใหม่ ที่มาจากหลากหลายมณฑล(ไม่เหมือนจีนเก่าทางใต้แบบแต่ก่อน)
ย้ายมาไทย ไม่ได้ต้องการจะอยู่ถาวร ส่วนใหญ่มาลงทุนทำธุรกิจ สะสมทุนในไทย ถ้าย้ายไปที่เจริญได้เขาก็ไปอีก เพราะมีการศึกษามีทุน และ รัฐประชาชาติจีน ปัจจุบัน ใหญ่มากแล้ว ไม่มีความจำเป็นต้องมามีสำนึกร่วมกับสังคมไทย หรือ เป็นคนไทย
ขอถามคนไทยจีน คนส่วนใหญ่ในไทย แยก จีนเก่า กับ จีนใหม่ กันที่ ปีไหน?
แน่นอนว่าจีน แต่ละยุค มีสำนึก ความเข้มข้น ชาตินิยม หรือ สำนึกร่วม ที่ต่างกัน เราแยกจีนใหม่ กันที่ปีไหน ?
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ปฏิวัติชินไห่ ปี1912 ก่อตั้ง สาธารณรัฐจีน ธง "ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ" (Five Races Under One Union)
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ตั้ง สาธารณรัฐจีน(พรรคก๊กมินตั๋ง) ปี1925 ปีเดียวกับการเริ่มกำหนด ภาษาจีนกลาง เป็นภาษาทางการของชาติ ยุคสร้างความรู้สึกร่วมชาตินิยมจีนเดียว
ปี1924 ภาษาจีนกลาง คือเครื่องมือรัฐ ใช้สร้างสำนึกชาตินิยมจีนเดียว ภาษามีความสำคัญมากในการสร้างสำนึกและพฤติกรรมของคนในชาติ
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ตั้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน(พรรคคอม) ปี1949 (อันนี้ในทางวิชาการ จีนศึกษาในไทย ใช้เรียกจีนใหม่ๆ)
บ้าง ก็แยก จีนใหม่ หลัง ปฏิวัติวัฒนธณรม และปิดประเทศไป30 ปี 1978 (อันนี้ทางการจีนเองเริ่มเรียกจีนใหม่)
อย่างคนไทยจีน ที่มีพัฒนาการร่วมกับสังคมไทยที่ต่างกัน รุ่นมาก่อน-หลัง ก็ไม่เหมือนกัน
บางคน identify ตัวเองเป็นคนไทย ไปเลย(ไม่พ่วง) แต่ก็เล่าได้ว่ามีเชื้อสายจีน เสี้ยวจีน เป็นคนไทยแบบในสังคมไทยทั่วๆไปไม่สนใจเรื่องเชื้อสายมากนัก
บางคน identify ตัวเองเป็น คนไทยเชื้อสายจีน เป็นคนที่มีลักษณเป็นคนจีน แต่ก็รู้สึกเป็นคนไทย ด้วยการอยู่ในสังคมไทยมานาน
บางคน identify ตัวเอง เป็นคนจีน แค่มี สัญชาติไทย ไม่ได้รู้สึกตัวเองเป็นคนไทยในแง่คนไทยทั่วๆไป
ภาษาจีนกลาง ไม่ใช่ภาษาบรรพบุรุษ แต่เพิ่งมาเรียนกันทีหลัง และน่าเป็นกระแส เทรนจากการสร้างสำนึกชาตินิยมสมัย1925 เป็นต้นมามากกว่า กระแสนี้เลยมาตกอยู่ใน SEAs ด้วย ที่ก็เริ่มทยอย สอนภาษาจีนกลาง
คลิปนี้ identify ตัวเอง ของ คนไต้หวัน
จีนใหม่ ที่มาจากหลากหลายมณฑล(ไม่เหมือนจีนเก่าทางใต้แบบแต่ก่อน)
ย้ายมาไทย ไม่ได้ต้องการจะอยู่ถาวร ส่วนใหญ่มาลงทุนทำธุรกิจ สะสมทุนในไทย ถ้าย้ายไปที่เจริญได้เขาก็ไปอีก เพราะมีการศึกษามีทุน และ รัฐประชาชาติจีน ปัจจุบัน ใหญ่มากแล้ว ไม่มีความจำเป็นต้องมามีสำนึกร่วมกับสังคมไทย หรือ เป็นคนไทย