สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ทุกวันนี้ไม่เกี่ยวกับ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ที่ทำปืนคาบศิลาสมัยปฏิวัติอเมริกันเด้อในวิกิพีเดียยังบอกเลย เห็นพวกช่องรีวิวปืนในไทยพากันร่ายประวัติซะยาวผมขออธิบายหน่อยหละกัน
สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ทุกวันนี้คือ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ อิงค์ เดิมใช้ชื่อว่าบริษัท แอล. เอช. กัน คอมปาเรชั่น เป็นบริษัทในรัฐเท็กซัส ภายหลังรัฐบาลสหรัฐฯ ปิดโรงงาน สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ลงและเปลี่ยนเป็นโบราณสถานเปิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแทน บริษัทนี้จึงเอาชื่อ " สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่" มาใช้ต่อโดยที่ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใดแม้ในเว็บไซต์จะมีประวัติร่ายยาวให้อ่านตั้งแต่ช่วง ค.ศ.1800 เหมือนทุกวันนี้ที่มีคนบอกว่าเอ็มจีเป็นรถอังกฤษอะทั้งที่ไม่ใช่

รถจีนแต่ตัวแบรนด์ก็ยังร่ายประวัติยาวตั้งแต่ตอนเป็นของอังกฤษ
สรุปง่าย ๆ
-สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ เจ้าของคือ "รัฐบาลสหรัฐฯ" ผลงานสุดท้ายของโรงงานคือปืนซุ่มยิง เอ็ม21 สมัยสงครามเวียดนามก่อนที่ในปี ค.ศ.1968 โรเบิร์ต สเตรนจ์ แมคนามารา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ นั้นจะสั่งปิดโรงงานนี้ลงเพราะไม่มีความจำเป็นที่รัฐบาลจะต้องผลิตอาวุธเองแล้วหลังยุค เอ็ม16 เป็นต้นไปคือยุคที่สหรัฐฯ พึ่งพาบริษัทเอกชนแบบแทบจะ 100% เพื่อนำงบประมาณไปดูแลโรงงานเก่าแก่พวกนี้ไปทำอย่างอื่นทหารก็มีหน้าที่รบไปทำหน้าที่ของตัวเอง
-สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ทุกวันนี้คือ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ อิงค์ เดิมใช้ชื่อว่าบริษัท แอล. เอช. กัน คอมปาเรชั่น เป็นบริษัทเอกชนในรัฐเท็กซัสใช้ประโยนช์จากการที่โรงงานสปริงฟิลด์ของรัฐบาลปิดตัวและไม่มีการจดสิทธิบัตรชื่อไว้อยู่แล้ว (เพราะมันของรัฐ)
สวัสดีครับ
สารานุกรมปืนตอนที่ 1947 ว่าด้วยเรื่องของชื่อ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ (Springfield Armory)
สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ทุกวันนี้คือ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ อิงค์ เดิมใช้ชื่อว่าบริษัท แอล. เอช. กัน คอมปาเรชั่น เป็นบริษัทในรัฐเท็กซัส ภายหลังรัฐบาลสหรัฐฯ ปิดโรงงาน สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ลงและเปลี่ยนเป็นโบราณสถานเปิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวแทน บริษัทนี้จึงเอาชื่อ " สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่" มาใช้ต่อโดยที่ไม่ได้มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใดแม้ในเว็บไซต์จะมีประวัติร่ายยาวให้อ่านตั้งแต่ช่วง ค.ศ.1800 เหมือนทุกวันนี้ที่มีคนบอกว่าเอ็มจีเป็นรถอังกฤษอะทั้งที่ไม่ใช่
สรุปง่าย ๆ
-สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ เจ้าของคือ "รัฐบาลสหรัฐฯ" ผลงานสุดท้ายของโรงงานคือปืนซุ่มยิง เอ็ม21 สมัยสงครามเวียดนามก่อนที่ในปี ค.ศ.1968 โรเบิร์ต สเตรนจ์ แมคนามารา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ นั้นจะสั่งปิดโรงงานนี้ลงเพราะไม่มีความจำเป็นที่รัฐบาลจะต้องผลิตอาวุธเองแล้วหลังยุค เอ็ม16 เป็นต้นไปคือยุคที่สหรัฐฯ พึ่งพาบริษัทเอกชนแบบแทบจะ 100% เพื่อนำงบประมาณไปดูแลโรงงานเก่าแก่พวกนี้ไปทำอย่างอื่นทหารก็มีหน้าที่รบไปทำหน้าที่ของตัวเอง
-สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ ทุกวันนี้คือ สปริงฟิลด์ อาร์มอรี่ อิงค์ เดิมใช้ชื่อว่าบริษัท แอล. เอช. กัน คอมปาเรชั่น เป็นบริษัทเอกชนในรัฐเท็กซัสใช้ประโยนช์จากการที่โรงงานสปริงฟิลด์ของรัฐบาลปิดตัวและไม่มีการจดสิทธิบัตรชื่อไว้อยู่แล้ว (เพราะมันของรัฐ)