ในช่วงเทศกาลปีใหม่นี้ เชื่อว่า หลายๆคน คงเดินทางด้วยการขับรถยนต์ส่วนตัวกัน ซึ่งแน่นอนว่ารถติด และ กินเวลานานมาก นั่นย่อมส่งผลให้ร่างกายปวดเมื่อยล้า
ในวันนี้ขอมาแนะนำ ท่านั่งการขับรถ ที่ถูกต้องซึ่งจะช่วยลดจะลดอาการเมื่อยล้าขณะขับขี่ได้
1. เริ่มที่ การนั่งให้นั่งก้มเต็มเบาะ
นั่งให้ก้นชิดเต็มเบาะ ก้นติดด้านในเบาะให้มากสุด
2. ปรับความสูงเบาะ
ให้เหมาะโดยวัดความสูงจากศรีษะเรากับเพดาน ในมีช่องว่างประมาณ 1 กำปั้น
โดยที่ให้มองตรงไปด้านหน้าโดยที่วิสัยทัศน์ โปร่ง คือ ตำแหน่งพวงมาลัย หรือ คอนโซลไปบังสายตา
3. เลื่อนระยะห่างของเบาะให้พอดีกับช่วงขา
โดยขาจะต้องมีมุมงอ ที่เหมาะสม สามารถยกเท้ามาเหยียบเบรกได้เต็มแรง
เพระาถ้านั่งห่าง ขาตึง จะเหยียบเบรกได้ไม่เต็มที่ นอกจากนี้ อาจเกิดการบาดเจ็บ เมื่อชน แล้ว ขาตึง เพราะ การที่ขาหย่อน จะสามารถช่วยซับแรงได้
4. ปรับพนักพิงให้เอนหลังเพียงเล็กน้อย
ควรอยู่ในช่วง 90 - 110 องศา
เนื่องจากหลายคนชอบปรับเอนเยอะๆ แทบจะนอน นั่นทำให้ การคอนโทรลพวงมาลัยลำบาก และส่งผลให้ปวดเมื่อยหลังด้วย
เพราะต้องมีการแอ่นหลังให้ลำตัวมาข้างหน้าเพื่อจะได้มองทางและคอนโทรลรถได้สะดวก โดยที่เราไม่รู้ตัว
5. ปรับระยะของพวงมาลัย
โดยการวัดระยะ ให้เหยียดแขน 2 ข้างตรง และยกข้อมือทั้ง 2 ข้าง ไปไว้บนพวงมาลัยด้านบน
ตัวแนบชิดกับเบาะ ไหล่ตรงไม่ยก เพราะจะทำให้เมื่อย
ถ้ายังไม่พอดี ให้ปรับพวงมาลัยเข้า/ออก ขึ้น/ลง จนได้ระยะที่ต้องการ
6. แขนจับพวงมาลัยด้านซ้ายที่ 9:00 และ ขวา 3:00 น. หรืออาจจะจับ ด้านซ้ายที่ 10:00 และ ขวา 2:00 น. ยังพอได้
(ช่วงดีสุด คือ 9 และ 3)
เพราะในช่วง ประมาณนี้ ไหล่จะไม่ยกเกินไป ทำให้ การหักวงเลี้ยวพวงมาลัยทำได้ดี และไม่เมื่อยช่วงไหล่
*หมายเหตุ ไม่ควรจับพวงมาลัยมือเดียว แบบ Dominic Toretto เพราะนั่นเป็นการจับที่ไม่ถูกต้อง ควบคุมรถไม่ดี โอกาสที่พวงมาลัยหลุดมือสูง
เอาล่ะครับ ก็หวังว่าเพื่อนๆ จะลองนำไปประยุกต์ใช้ดูนะครับ และขอให้ขับรถเดินทางด้วยความปลอดภัย กันด้วยครับ
ขับรถทางไกลเมื่อย มาจัดท่านั่งขับรถให้ถูกต้องกันดีกว่า
ในวันนี้ขอมาแนะนำ ท่านั่งการขับรถ ที่ถูกต้องซึ่งจะช่วยลดจะลดอาการเมื่อยล้าขณะขับขี่ได้
1. เริ่มที่ การนั่งให้นั่งก้มเต็มเบาะ
นั่งให้ก้นชิดเต็มเบาะ ก้นติดด้านในเบาะให้มากสุด
2. ปรับความสูงเบาะ
ให้เหมาะโดยวัดความสูงจากศรีษะเรากับเพดาน ในมีช่องว่างประมาณ 1 กำปั้น
โดยที่ให้มองตรงไปด้านหน้าโดยที่วิสัยทัศน์ โปร่ง คือ ตำแหน่งพวงมาลัย หรือ คอนโซลไปบังสายตา
3. เลื่อนระยะห่างของเบาะให้พอดีกับช่วงขา
โดยขาจะต้องมีมุมงอ ที่เหมาะสม สามารถยกเท้ามาเหยียบเบรกได้เต็มแรง
เพระาถ้านั่งห่าง ขาตึง จะเหยียบเบรกได้ไม่เต็มที่ นอกจากนี้ อาจเกิดการบาดเจ็บ เมื่อชน แล้ว ขาตึง เพราะ การที่ขาหย่อน จะสามารถช่วยซับแรงได้
4. ปรับพนักพิงให้เอนหลังเพียงเล็กน้อย
ควรอยู่ในช่วง 90 - 110 องศา
เนื่องจากหลายคนชอบปรับเอนเยอะๆ แทบจะนอน นั่นทำให้ การคอนโทรลพวงมาลัยลำบาก และส่งผลให้ปวดเมื่อยหลังด้วย
เพราะต้องมีการแอ่นหลังให้ลำตัวมาข้างหน้าเพื่อจะได้มองทางและคอนโทรลรถได้สะดวก โดยที่เราไม่รู้ตัว
5. ปรับระยะของพวงมาลัย
โดยการวัดระยะ ให้เหยียดแขน 2 ข้างตรง และยกข้อมือทั้ง 2 ข้าง ไปไว้บนพวงมาลัยด้านบน
ตัวแนบชิดกับเบาะ ไหล่ตรงไม่ยก เพราะจะทำให้เมื่อย
ถ้ายังไม่พอดี ให้ปรับพวงมาลัยเข้า/ออก ขึ้น/ลง จนได้ระยะที่ต้องการ
6. แขนจับพวงมาลัยด้านซ้ายที่ 9:00 และ ขวา 3:00 น. หรืออาจจะจับ ด้านซ้ายที่ 10:00 และ ขวา 2:00 น. ยังพอได้
(ช่วงดีสุด คือ 9 และ 3)
เพราะในช่วง ประมาณนี้ ไหล่จะไม่ยกเกินไป ทำให้ การหักวงเลี้ยวพวงมาลัยทำได้ดี และไม่เมื่อยช่วงไหล่
*หมายเหตุ ไม่ควรจับพวงมาลัยมือเดียว แบบ Dominic Toretto เพราะนั่นเป็นการจับที่ไม่ถูกต้อง ควบคุมรถไม่ดี โอกาสที่พวงมาลัยหลุดมือสูง
เอาล่ะครับ ก็หวังว่าเพื่อนๆ จะลองนำไปประยุกต์ใช้ดูนะครับ และขอให้ขับรถเดินทางด้วยความปลอดภัย กันด้วยครับ