หน้าแรก
คอมมูนิตี้
ห้อง
แท็ก
คลับ
ห้อง
แก้ไขปักหมุด
ดูทั้งหมด
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
แท็ก
แก้ไขปักหมุด
ดูเพิ่มเติม
เกิดข้อผิดพลาดบางอย่าง
ลองใหม่
{room_name}
{name}
{description}
กิจกรรม
แลกพอยต์
อื่นๆ
ตั้งกระทู้
เข้าสู่ระบบ / สมัครสมาชิก
เว็บไซต์ในเครือ
Bloggang
Pantown
PantipMarket
Maggang
ติดตามพันทิป
ดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้
เกี่ยวกับเรา
กฎ กติกา และมารยาท
คำแนะนำการโพสต์แสดงความเห็น
นโยบายเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิ์การใช้งานของสมาชิก
ติดต่อทีมงาน Pantip
ติดต่อลงโฆษณา
ร่วมงานกับ Pantip
Download App Pantip
Pantip Certified Developer
มกอช.เร่งดันโรงคัดบรรจุผักปลอดภัยเข้าระบบ GMP จับมือกรมส่งเสริมการเกษตร เสริมความรู้มาตรฐาน GAP พืชอาหารกลุ่มเกษตรกร
กระทู้ข่าว
เกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สินค้าเกษตร
รัฐบาล
เกษตรอินทรีย์
มกอช.ขยายผลนโยบายตลาดนำการผลิตพื้นที่แปลงใหญ่ ดันโรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผักและผลไม้สดขนาดเล็กเข้าระบบ GMP หวังลดความเสี่ยงสินค้าเกษตรล้นตลาด-ราคาตก ปี 62วางเป้าพัฒนานำร่องนำร่อง 4 จังหวัด พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ราชบุรี และขอนแก่น ป้อนผลผลิตให้เทสโก้ โลตัส
นางสาวจูอะดี พงศ์มณีรัตน์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)กล่าวว่า เพื่อเร่งขยายผลนโยบายด้านการตลาดและการผลิตในพื้นที่เกษตรกรแปลงใหญ่ มกอช.ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“การจัดการและการกำกับดูแลโรงคัดบรรจุผักและผลไม้ขนาดเล็กตามหลักการปฏิบัติที่ดีในการผลิต (GMP)” ให้กับทางกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อรองรับการตรวจประเมินประกอบการขอการรับรอง GMP โรงรวบรวมผักและผลไม้สด (มกษ. 9047-2560) จากกรมวิชาการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพสินค้าและสร้างมูลค่าเพิ่มและสามารถบริหารจัดการสินค้าเกษตรแบบครบวงจรอย่างยั่งยืน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงผลผลิตของเกษตรกรล้นตลาดและราคาตกต่ำแบบยั่งยืนในอนาคต
โดยโครงการดังกล่าว มีเป้าหมายส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4 จังหวัด คือ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ราชบุรี และขอนแก่น รวม 4 กลุ่ม ระหว่างเดือนธ.ค61-ก.ย 62 เพื่อให้โรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผักและผลไม้สดของกลุ่มเกษตรกรได้รับการยกระดับการผลิตให้ได้ตามมาตรฐานสินค้าเกษตร(มกษ.9047-2560)โดยโครงการดังกล่าวจะนำโมเดลบ้านโนนเขวา จังหวัดขอนแก่น มาเป็นแบบอย่างในการขยายผลไปยังจังหวัดอื่นๆ รวมทั้งขอความร่วมมือกับกรมวิชาการในการสนับสนุนการตรวจประเมินโรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผักและผลไม้สดของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ
เลขาธิกากล่าวว่า ปัจจุบัน มกอช. เร่งสร้างการรับรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการผลิตพืชผักปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP มาตรฐาน GMP แก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมกอช.ได้จัดสัมมนา เรื่อง การจัดการและการกำกับดูแลโรงคัดบรรจุผักและผลไม้ขนาด GMP
และจัดอบรม เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี GAP พืชอาหาร ภายใต้โครงการ พัฒนาโรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผัก และผลไม้สดขนาดเล็ก ให้เป็นไปตามหลักการปฏิบัติที่ดีในการผลิต GMP ซึ่ง มกอช. ได้ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร อบรม ให้ความรู้ และส่งเสริม ให้กับกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่ ให้มีองค์ความรู้ด้านการปลูกและการผลิตตามหลักการผลิตที่ดี GAP พืชอาหาร พร้อมทั้งลงพื้นที่ติดตามความพร้อมของโรงคัดบรรจุผักและผลไม้สดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านนาคูร่วมใจพัฒนา ตำบลนาคู อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พร้อมศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา อุปสรรค และศักยภาพของโรงคัดบรรจุ และโรงรวบรวมผักและผลไม้สดขนาดเล็ก ที่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 9035-2553 และ มกษ. 9047-2560 ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวเป็นหนึ่งแผนขับเคลื่อนการใช้มาตรฐานสินค้าเกษตรในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ภายใต้แผนการพัฒนาการเกษตร 5 ปี (2560-2564) ที่พุ่งเป้าเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทานและส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรได้มาตรฐานรองรับความต้องการของตลาดทั้งภายในและตลาดโลก
ทั้งนี้ โรงคัดบรรจุผักปลอดภัย ตำบลนาคู อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขณะนี้โรงคัดบรรจุผักปลอดภัยฯ อยู่ระหว่างขอการรับรอง GMP โรงรวบรวมผักและผลไม้สด (มกษ.) เป็นพื้นที่แปลงใหญ่ มีสมาชิกทั้งหมด 37 ราย สมาชิกเครือข่าย 13 ราย ผ่านการรับรอง GAP แล้ว 7 ราย จำนวน 10 แปลง โดยมีตลาดหลัก คือ เทสโก้โลตัส ผลิตผักมีทั้งหมด 14 ชนิด คือ คะน้า คะน้ายอด กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ผักชี กระเพา โหระพา ฟักเขียว แตงกวา แตงร้าน ผักกาดหอม บวบเหลี่ยม มะเขือยาว มะนาว ในอนาคตจะเพิ่มอีก 2 ชนิด คือ มะเขือเปราะ และมะระจีน ปริมาณที่จัดส่งประมาณ 1,750 กิโลกรัม/วัน หรือ 8,750 กิโลกรัม/สัปดาห์ มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 600,000 บาท
▼
กำลังโหลดข้อมูล...
▼
แสดงความคิดเห็น
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
กรมส่งเสริมการเกษตร จับมือ สถาบันปัญญาภิวัฒน์จัด “มหกรรมตลาดเกษตรกร” โชว์สินค้าเกษตรเกรด Premium จาก 26 จังหวัดทั่วไทย
กรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ เตรียมจัดงาน “มหกรรมตลาดเกษตรกร” ภายใต้แนวคิด “ตลาดเกษตรกร นวัตกรรมตลาดเพื่อผู้บริโภค” ติดอาวุธทางปัญญาเสริมองค์ความรู้ด
ควายน้อยดีใจได้ไปโรงเรียน
สินค้าเกษตรดิ่ง บาทแข็งกระทบหนัก “ข้าว มัน ยาง ปาล์ม ทุเรียน” ทิศทางราคาลดลง
กระเทียม หอมแดง แตงโม กะหล่ำปลี มะม่วง ร่วงหมดตอนนี้ รอดูราคาข้าวโพดช่วงปลายปี ราคาสินค้าเกษตรสำคัญของไทย เช่น ข้าวยางพารา มันสำปะหลัง ปาล์มน้ำมัน ทุเรียน และผลไม้อื่น ๆ ยังคงมีทิศทางลดลงในช่วง 5
สมาชิกหมายเลข 2933266
ถ้าไม่ใช้วิธีรับจำนำข้าว รัฐควรมีวิธีช่วยชาวนาอย่างไร ?
การจำนำข้าวเป็นระบบที่ออกแบบมาซับซ้อน เพื่อแก้ปัญหา ราคาข้าวตกต่ำในฤดูเก็บเกี่ยว ซึ่งเป็นช่วงข้าวล้นตลาด แต่หลายเดือนต่อมา ราคาข้าวจะสูงขึ้น การเอาข้าวมาจำนำไว้ ก็เพื่อคาดหวังเรื่องการทยอยขาย เมื่อถ
สมาชิกหมายเลข 7873663
คนที่ลาออกจากงานเงินเดือนดี เพื่อไปใช้ชีวิตเรียบง่าย เขาคิดถูกไหม?
พอได้ไปอ่านเรื่องราวของบางคนที่ลาออกจากงานดีๆ แล้วไปใช้ชีวิตเรียบง่าย เช่น - กลับบ้านไปอยู่ต่างจังหวัด ปลูกผัก เลี้ยงไก่ - เปิดร้านกาแฟเล็กๆในชุมชน - ขายของออนไลน์จากที่บ้าน เรารู้สึกว่า "แบบนั้น
สมาชิกหมายเลข 8190196
ผู้เชี่ยวชาญเปิดชื่อ 5 ผัก-ผลไม้ สุ่มตรวจพบสารเคมีปนเปื้อนมากที่สุด เชื่อมโยงมะเร็ง
ผู้เชี่ยวชาญเปิดชื่อ 5 ผัก-ผลไม้ สุ่มตรวจพบสารเคมีปนเปื้อนมากที่สุด เชื่อมโยงมะเร็ง ปัญหาสืบพันธุ์ และระบบประสาท Daily Mail รายงานว่า การศึกษาล่าสุดจาก Environmental Working Group (EWG)&nbs
วันนี้ต้องดีกว่าเมื่อวานครับผม
ยกระดับสินค้าเกษตรแปรรูปด้วยนวัตกรรม: กองพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม เดินหน้าหนุน SMEs สู่ตลาดคุณภาพ
เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2568 ที่ผ่านมา กองพัฒนาเกษตรอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้จัดพิธีปิด “กิจกรรมการยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม” ณ โรงแรม
สมาชิกหมายเลข 8832993
ผัก ผลไม้ เห็ด หอม กระเทียม เกษตรกรไทยโดนสินค้าจีนตีหมดแล้ว ถ้ามีน้ำปลาร้าจีน ถือว่าสิ้นชาติได้ยัง ?
นั่นน่าจะเป็นปราการด่านสุดท้ายละ ถ้าวันไหนในตลาดมีน้ำปลาร้าแบรนด์จีน ที่ความนัวไม่แพ้แบรนด์ไทยขาย ถือว่าสิ้นชาติทางเศรษฐกิจได้อะยังครับ
สมาชิกหมายเลข 7087614
ทุเรียนไทย : เจ้าแห่งตลาดโลก จะเป็นแชมป์ หรือแค่ตำนาน ?...
ในปี 2567 ประเทศไทยครองตำแหน่ง “ผู้ส่งออกทุเรียนรายใหญ่ที่สุดของโลก” ด้วยผลผลิตรวมกว่า 1.3 ล้านตัน ซึ่งกว่า 75% ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ สร้างรายได้จากการส่งออกทุเรียนสดกว่า 3.76 พันล้านด
สมาชิกหมายเลข 7867142
T-series: นโยบายสำหรับ"การว่างงาน*เศรษฐกิจพอเพียง"
ปัญหาหางานหรือบางคนอาจจะยังไม่เจอเส้นทางที่ใช่ วันนี้ผมอยากจะมาแชร์แนวคิดและแผนปฏิบัติการ "เกษตรพอเพียง" ที่เน้นการ อยู่รอดด้วยตัวเอง พึ่งพาตัวเองได้อย่างยั่งยืน แผนนี้ไม่ได้หวังให้ทุกคนเป็น
สมาชิกหมายเลข 2834682
เห็ดนำเข้า ครองตลาด เห็ดไทย สู้ราคาไม่ได้-ขาดเทคโนโลยีเพิ่มมูลค่า
เห็ดนำเข้า ครองตลาด “นายกสมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดไทย” ชี้เห็ดไทยสู้ราคาไม่ได้ ไร้เทคโนโลยีเก็บรักษาและบรรจุภัณฑ์ แนะรัฐจำกัดจำนวนนำเข้า-เพิ่มงบพัฒนาเทคโนโลยี และเกษตรกรปรับตัว หันป้อนผลผลิ
parn 256
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
เกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สินค้าเกษตร
รัฐบาล
เกษตรอินทรีย์
บนสุด
ล่างสุด
อ่านเฉพาะข้อความเจ้าของกระทู้
หน้า:
หน้า
จาก
แชร์ :
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน
อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
ยอมรับ
มกอช.เร่งดันโรงคัดบรรจุผักปลอดภัยเข้าระบบ GMP จับมือกรมส่งเสริมการเกษตร เสริมความรู้มาตรฐาน GAP พืชอาหารกลุ่มเกษตรกร
นางสาวจูอะดี พงศ์มณีรัตน์ เลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)กล่าวว่า เพื่อเร่งขยายผลนโยบายด้านการตลาดและการผลิตในพื้นที่เกษตรกรแปลงใหญ่ มกอช.ได้จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ“การจัดการและการกำกับดูแลโรงคัดบรรจุผักและผลไม้ขนาดเล็กตามหลักการปฏิบัติที่ดีในการผลิต (GMP)” ให้กับทางกลุ่มวิสาหกิจ เพื่อรองรับการตรวจประเมินประกอบการขอการรับรอง GMP โรงรวบรวมผักและผลไม้สด (มกษ. 9047-2560) จากกรมวิชาการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถพัฒนาคุณภาพสินค้าและสร้างมูลค่าเพิ่มและสามารถบริหารจัดการสินค้าเกษตรแบบครบวงจรอย่างยั่งยืน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงผลผลิตของเกษตรกรล้นตลาดและราคาตกต่ำแบบยั่งยืนในอนาคต
โดยโครงการดังกล่าว มีเป้าหมายส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4 จังหวัด คือ พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ราชบุรี และขอนแก่น รวม 4 กลุ่ม ระหว่างเดือนธ.ค61-ก.ย 62 เพื่อให้โรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผักและผลไม้สดของกลุ่มเกษตรกรได้รับการยกระดับการผลิตให้ได้ตามมาตรฐานสินค้าเกษตร(มกษ.9047-2560)โดยโครงการดังกล่าวจะนำโมเดลบ้านโนนเขวา จังหวัดขอนแก่น มาเป็นแบบอย่างในการขยายผลไปยังจังหวัดอื่นๆ รวมทั้งขอความร่วมมือกับกรมวิชาการในการสนับสนุนการตรวจประเมินโรงคัดบรรจุและโรงรวบรวมผักและผลไม้สดของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ