โดยปกติแล้ว เวลาเราใช้วงจรrectifier แปลงไฟacเป็นdcอะเนอะ ทีนี้คลื่นมันไม่เรียบ ยอดมันแหลมมาก
เราก็เลยเอาตัวเก็บประจุไปกรองมัน ยอดของมันจะลาดลงเรื่อยๆตามค่า(ปริมาณ)ของตัวเก็บประจุ
ถึงจุดหนึ่ง... มันจะเรียบเป็นเส้นตรง แต่ถ้าวงจรใหญ่ไฟมาก ค่าที่ต้องใช้มันเยอะมากๆ
เข้าใจว่าสูตรที่ใช้ๆกันนั้นคือสูตรที่คำนึงถึงค่าrippleไมเกิน 10% ไม่ได้คำนวนเอาให้เรียบเป๊ะ
C = (5 x Io)/(Vs x f)
C = ค่าการเก็บประจุ
Io = กระแสออกจากแหล่งจ่ายไฟ
Vs = แรงดันแหล่งจ่าย (ค่ายอดของไฟDCที่ยังไม่กรอง)
f = ความถี่ของไฟ AC แหล่งจ่าย (50Hz)
แล้วถ้าอย่างนั้นค่า rated ripple current มีไว้ทำอะไรครับ เท่าที่ทราบมันเอาไว้บอก
ความสามารถในการจัดการแรงดันพริ้ว ว่ามีขีดจำกัดแค่ไหนในการลด ripple current แตทีนี้....
ตัวเก็บประจุที่ขนาดเท่ากันประเภทเดียวกัน คนละเกรดคนละวัสดุ ค่านี้แจกจ่างกันได้ค่อนข้างมาก
ยิ่งต่างประเภทยิ่งต่างเข้าไปใหญ่ โดยเฉพาะพวกชนิดฟิล์มต่างๆ บางรุ่นrated ripple currentสูงมากๆเป็น10เท่าของelectrolyte
แล้วอย่างนี้ถ้าเราเอามาลดแรงดันพริ้ว บางทีใส่ค่าน้อยๆมันก็ได้ปล แต่ไม่ตรงกับที่คำนวนได้น่ะสิครับ??
สูตรการใช้capacitor เพื่อกรองกระแสยังถูกต้องอยู่ไหม และrated ripple current คืออะไร???
เราก็เลยเอาตัวเก็บประจุไปกรองมัน ยอดของมันจะลาดลงเรื่อยๆตามค่า(ปริมาณ)ของตัวเก็บประจุ
ถึงจุดหนึ่ง... มันจะเรียบเป็นเส้นตรง แต่ถ้าวงจรใหญ่ไฟมาก ค่าที่ต้องใช้มันเยอะมากๆ
เข้าใจว่าสูตรที่ใช้ๆกันนั้นคือสูตรที่คำนึงถึงค่าrippleไมเกิน 10% ไม่ได้คำนวนเอาให้เรียบเป๊ะ
C = (5 x Io)/(Vs x f)
C = ค่าการเก็บประจุ
Io = กระแสออกจากแหล่งจ่ายไฟ
Vs = แรงดันแหล่งจ่าย (ค่ายอดของไฟDCที่ยังไม่กรอง)
f = ความถี่ของไฟ AC แหล่งจ่าย (50Hz)
แล้วถ้าอย่างนั้นค่า rated ripple current มีไว้ทำอะไรครับ เท่าที่ทราบมันเอาไว้บอก
ความสามารถในการจัดการแรงดันพริ้ว ว่ามีขีดจำกัดแค่ไหนในการลด ripple current แตทีนี้....
ตัวเก็บประจุที่ขนาดเท่ากันประเภทเดียวกัน คนละเกรดคนละวัสดุ ค่านี้แจกจ่างกันได้ค่อนข้างมาก
ยิ่งต่างประเภทยิ่งต่างเข้าไปใหญ่ โดยเฉพาะพวกชนิดฟิล์มต่างๆ บางรุ่นrated ripple currentสูงมากๆเป็น10เท่าของelectrolyte
แล้วอย่างนี้ถ้าเราเอามาลดแรงดันพริ้ว บางทีใส่ค่าน้อยๆมันก็ได้ปล แต่ไม่ตรงกับที่คำนวนได้น่ะสิครับ??