ระบบการส่งวิทยุกระจายเสียงที่ผ่านมาในอดีตเริ่มจากการเปลี่ยนเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้าในระบบอนาล็อกแล้วนำสัญญาณเสียงผสมกับคลื่นความถี่วิทยุทำการส่งออกอากาศการส่งวิทยุกระจายเสียงยุคแรกเป็นการส่งระบบ AM ซึ่งส่งกระจายเสียงในย่านความถี่ MW อุปกรณ์ที่ใช้งานในการส่งวิทยุกระจายเสียง คือ เครื่องเล่นแผ่นเสียงเทปบันทึกเสียง เป็นอุปกรณ์ระบบอนาล็อก ต่อมามีการพัฒนาการส่งวิทยุกระจายเสียงในระบบ FM เป็นการผสมสัญญาณเสียงกับคลื่นวิทยุโดยใช้เทคนิคเปลี่ยนแปลงความถี่ของคลื่นวิทยุ ทำให้คุณภาพเสียงดีในการรับฟังจากเครื่องรับวิทยุดีขึ้นกว่าการรับฟังในระบบ AM ส่งกระจายเสียงในย่านความถี่ VHF และในปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนการส่งวิทยุกระจายเสียงเป็นระบบดิจิตอลสัญญาณเสียงจะถูกเข้ารหัสเป็นสัญญาณระบบดิจิตอลและผสมกับคลื่นวิทยุทำการส่งออกอากาศ ส่วนอุปกรณ์การส่งวิทยุกระจายเสียงนั้น อุปกรณ์ห้องส่งจะมีการเปลี่ยนจากระบบอนาล็อกเป็นระบบดิจิตอลคือการใช้คอมพิวเตอร์มาทดแทนอุปกรณ์เครื่องเล่นแผ่นเสียง เครื่องเล่นซีดีเทปบันทึกเสียง รูปแบบการทำงานของเจ้าหน้าที่ช่างเทคนิคผู้จัดรายการวิทยุจะเปลี่ยนไปจะต้องทำงานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในการทำผังรายการวิทยุการผลิตรายการวิทยุ การควบคุมการทำงานออกอากาศ การสั่งงานด้วยระบบ Remote Control และในปัจจุบันวิทยุได้มีการพัฒนากระจากช่องทางการฟังให้มีความทันสมัยตามยุคปัจจุบัน เป็นการตอบสนองความต้องการและสะดวกเพิ่มมากขึ้น โดยการฟังผ่านช่องทาง Radio Online ซึงสามารถฟังผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ต อุปกรณ์ในการเลือกฟังในยุคปัจจุบันนี้คือ App บนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ แล็ปท็อปที่สามารถรองรับสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้ วิทยุในยุคปัจจุบันผู้ฟังสามารถร่วมสนุกกิจกรรมกับทางรายการวิทยุได้ และนักจัดรายการยังเป็นที่รู้จักของคนในสังคมหมู่มาก ซึ่งทำให้ถึงความแตกต่างได้อย่างชัดเจนระหว่างอดีตกับยุคปัจจุบัน
พฤติกรรมการฟังวิทยุกระจายเสียงของคนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ครั้งนี้วัตถุประสงค์สำคัญในการศึกษา คือ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกฟังสถานีคลื่นวิทยุของกลุ่มคนอายุ 18-45 ปี ในบริเวณพื้นที่เขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง และยังทำให้สามารถศึกษาพฤติกรรมว่าคนปัจจุบันยังให้ความสนใจ และให้ความสำคัญกับวิทยุเพิ่มมากขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 100 คน จึงแบ่งข้อมูลเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1.ข้อมูลส่วนบุคคล 2.พฤติกรรมในการรับฟังวิทยุ 3.ความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุ
บทสรุปการศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
1.เพศ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เพศหญิงคิดเป็น 60 %
และเพศชายคิดเป็น 40 %
2.อายุ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุ 21 – 30 ปี คิดเป็น 32 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยอายุ 16 – 20 ปี คิดเป็น 8 %
3.สถานภาพ :กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีสถานภาพโสดคิดเป็น 55 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยมีสถานภาพหย่าร้างคิดเป็น 7 %
4.อาชีพ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อาชีพอื่น ๆ คิดเป็น 38 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยอาชีพร้านค้า คิดเป็น 27 %
5.ช่องทางการฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมฟังบอร์ดแคชคิดเป็น 57 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยฟังวิทยุทางออนไลน์คิดเป็น 43 %
6.ช่วงเวลาในการฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมฟังในช่วงเวลา 12.00 – 18.00 น. คิดเป็น 43 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะฟังในช่วงเวลา 05.00 – 12.00 น. คิดเป็น 33 %
7.ฟังวิทยุ / สัปดาห์ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเลือกฟังทุกวันและ1 – 2 วัน/ สัปดาห์ คิดเป็น 28 % เท่ากัน
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเลือกฟัง 5 – 6 วัน / สัปดาห์ คิดเป็น 21 %
8.เฉลี่ยการฟัง / ชั่วโมง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีการเฉลี่ยฟังที่ 2 - 4 ชม. คิดเป็น 39 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเฉลี่ยการฟัง 8 – 10 ชม. คิดเป็น 3 %
9.เหตุผลในการเลือกฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะนิยมฟังเพื่อผ่อนคลายความเครียด คิดเป็น 25 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเลือกฟังเพื่อหาสาระความรู้คิดเป็น 4 %
10.กิจกรรมของรายการวิทยุ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีส่วนร่วมในรายการวิทยุคิดเป็น 99 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยเคยมีส่วนร่วมในรายการวิทยุ คิดเป็น 1 %
ความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุ
1 นำเสนอมีความน่าสนใจ / มีความหลากหลายไม่น่าเบื่อ
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 49 % ของจำนวนทั้งหมด
2 นำเสนอได้หันต่อเหตุการณ์
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 49 % ของจำนวนทั้งหมด
3 มีลีลาในการนำเสนอน่าฟัง และเป็นกันเอง
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 41 % ของจำนวนทั้งหมด
4 มีน้ำเสียงชัดเจน และสามารถสื่อสารความหมายได้ชัดเจน
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับมากโดยคิดเป็น 38 % ของจำนวนทั้งหมด
5 ใช้ภาษาพูดได้ถูกต้องตามอักขร
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 48 % ของจำนวนทั้งหมด
จากการสรุปผลการวิจัยนั้นการศึกษาพฤติกรรมการฟังวิทยุของคนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง สรุปได้ดังนี้ คือ คนส่วนใหญ่นิยมฟังวิทยุในช่วงอายุ
21 – 30 ปี โดยแบ่งเป็นเพศหญิงจำนวน 60 คน และชายจำนวน 40 คน ส่วนใหญ่แล้วจะมีสถานภาพโสด และกลุ่มบุคคลทำงานทั่วไป และมีการเลือกรับฟังวิทยุแบบบอร์ดแคช ( AM / FM ) มากกว่า Radio Online จะนิยมฟังมากที่สุดในช่วงเวลา 12.00 – 18.00 น.น้อยที่สุดในช่วงเวลา 05.00 – 12.00 น. และมีการฟังวิทยุแถบทุกวัน เฉลี่ยแล้วประมาน 2 – 4 ชั่วโมงต่อวัน โดยมรเหตุผลในการเลื่อกรับฟังมากที่สุด คือ ผ่อนคลายความเครียดคิดเป็น 25 % และน้อยที่สุด คือ หาสาระความรู้ คิดเป็น 4 %
ส่วนใหญ่คนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปางไม่เคยมีส่วนร่วมกับทางรายการวิทยุมากนัก แต่คนส่วนใหญ่ก็ให้ความสนใจกับวิทยุไม่ได้น้อยลง และมีความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุที่อยู่ในระดับปานกลาง จึงสรุปได้ว่าคนส่วนใหญ่ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปางยังมีความสนใจในการรับฟังวิทยุอยู่
วิจัย พฤติกรรมการฟังวิทยุกระจายเสียงของคนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
พฤติกรรมการฟังวิทยุกระจายเสียงของคนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ครั้งนี้วัตถุประสงค์สำคัญในการศึกษา คือ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกฟังสถานีคลื่นวิทยุของกลุ่มคนอายุ 18-45 ปี ในบริเวณพื้นที่เขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง และยังทำให้สามารถศึกษาพฤติกรรมว่าคนปัจจุบันยังให้ความสนใจ และให้ความสำคัญกับวิทยุเพิ่มมากขึ้น โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 100 คน จึงแบ่งข้อมูลเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1.ข้อมูลส่วนบุคคล 2.พฤติกรรมในการรับฟังวิทยุ 3.ความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุ
บทสรุปการศึกษาข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง
1.เพศ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เพศหญิงคิดเป็น 60 %
และเพศชายคิดเป็น 40 %
2.อายุ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อายุ 21 – 30 ปี คิดเป็น 32 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยอายุ 16 – 20 ปี คิดเป็น 8 %
3.สถานภาพ :กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีสถานภาพโสดคิดเป็น 55 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยมีสถานภาพหย่าร้างคิดเป็น 7 %
4.อาชีพ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อาชีพอื่น ๆ คิดเป็น 38 %
และกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยอาชีพร้านค้า คิดเป็น 27 %
5.ช่องทางการฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมฟังบอร์ดแคชคิดเป็น 57 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยฟังวิทยุทางออนไลน์คิดเป็น 43 %
6.ช่วงเวลาในการฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่นิยมฟังในช่วงเวลา 12.00 – 18.00 น. คิดเป็น 43 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะฟังในช่วงเวลา 05.00 – 12.00 น. คิดเป็น 33 %
7.ฟังวิทยุ / สัปดาห์ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเลือกฟังทุกวันและ1 – 2 วัน/ สัปดาห์ คิดเป็น 28 % เท่ากัน
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเลือกฟัง 5 – 6 วัน / สัปดาห์ คิดเป็น 21 %
8.เฉลี่ยการฟัง / ชั่วโมง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะมีการเฉลี่ยฟังที่ 2 - 4 ชม. คิดเป็น 39 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเฉลี่ยการฟัง 8 – 10 ชม. คิดเป็น 3 %
9.เหตุผลในการเลือกฟัง : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะนิยมฟังเพื่อผ่อนคลายความเครียด คิดเป็น 25 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยจะเลือกฟังเพื่อหาสาระความรู้คิดเป็น 4 %
10.กิจกรรมของรายการวิทยุ : กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีส่วนร่วมในรายการวิทยุคิดเป็น 99 %
กลุ่มตัวอย่างส่วนน้อยเคยมีส่วนร่วมในรายการวิทยุ คิดเป็น 1 %
ความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุ
1 นำเสนอมีความน่าสนใจ / มีความหลากหลายไม่น่าเบื่อ
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 49 % ของจำนวนทั้งหมด
2 นำเสนอได้หันต่อเหตุการณ์
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 49 % ของจำนวนทั้งหมด
3 มีลีลาในการนำเสนอน่าฟัง และเป็นกันเอง
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 41 % ของจำนวนทั้งหมด
4 มีน้ำเสียงชัดเจน และสามารถสื่อสารความหมายได้ชัดเจน
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับมากโดยคิดเป็น 38 % ของจำนวนทั้งหมด
5 ใช้ภาษาพูดได้ถูกต้องตามอักขร
ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึ่งพอใจในระดับปานกลางโดยคิดเป็น 48 % ของจำนวนทั้งหมด
จากการสรุปผลการวิจัยนั้นการศึกษาพฤติกรรมการฟังวิทยุของคนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง สรุปได้ดังนี้ คือ คนส่วนใหญ่นิยมฟังวิทยุในช่วงอายุ
21 – 30 ปี โดยแบ่งเป็นเพศหญิงจำนวน 60 คน และชายจำนวน 40 คน ส่วนใหญ่แล้วจะมีสถานภาพโสด และกลุ่มบุคคลทำงานทั่วไป และมีการเลือกรับฟังวิทยุแบบบอร์ดแคช ( AM / FM ) มากกว่า Radio Online จะนิยมฟังมากที่สุดในช่วงเวลา 12.00 – 18.00 น.น้อยที่สุดในช่วงเวลา 05.00 – 12.00 น. และมีการฟังวิทยุแถบทุกวัน เฉลี่ยแล้วประมาน 2 – 4 ชั่วโมงต่อวัน โดยมรเหตุผลในการเลื่อกรับฟังมากที่สุด คือ ผ่อนคลายความเครียดคิดเป็น 25 % และน้อยที่สุด คือ หาสาระความรู้ คิดเป็น 4 %
ส่วนใหญ่คนในอำเภอเมือง จังหวัดลำปางไม่เคยมีส่วนร่วมกับทางรายการวิทยุมากนัก แต่คนส่วนใหญ่ก็ให้ความสนใจกับวิทยุไม่ได้น้อยลง และมีความพึ่งพอใจในการรับฟังวิทยุที่อยู่ในระดับปานกลาง จึงสรุปได้ว่าคนส่วนใหญ่ในอำเภอเมือง จังหวัดลำปางยังมีความสนใจในการรับฟังวิทยุอยู่