ในหนังสือ "พระไทย ใช่เขาใช่เรา"
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/thai_monks_nibhan-anatta.pdf
เขียนโดยท่านเจ้าคุณปยุตโต
ที่อธิบายแก้ไขคำกล่าวของพระคึกฤทธิ์
ที่มีปกติบอกสอนญาติโยมผู้ฟังบรรยายว่า
1. นิพพานหรืออสังขตธรรมไม่สามารถจัดเป็นทั้งอัตตา ไม่สามารถจัดเป็นทั้งอนัตตา
2. พุทธพจน์ "สัพเพธัมมา อนัตตา" --สัพเพธัมมา หมายเฉพาะถึงสังขตธรรม
ไม่ได้หมายรวมถึงอสังขตธรรม หรือนิพพานไปด้วย
ท่านเจ้าคุณปยุตโต ได้โต้แย้งในหลาย ๆ ประเด็น
มีประเด็นโต้แย้งหนึ่ง เป็นทำนองว่า
ภาษาบาลีโดยทางการ จะไม่มีการใช้ double negative
ในหัวข้อที่ ๓. แมวเป็นช้างก็ไม่ใช่ ไม่เป็นช้างก็ไม่ใช่
คำกล่าวดังกล่าวมีว่า
หน้าที่ 20
http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/thai_monks_nibhan-anatta.pdf
>
> พอพูดว่า "นิพพานไม่เป็นอัตตา" ก็คือบอกตามคำบาลีว่า
> "นิพพานเป็นอนัตตา" ก็เลยหมดสิทธิที่จะพูดว่า "นิพพานไม่เป็นอนัตตา"
>
ประเด็นนี้น่าสนใจครับ
เพราะแม้พระอาจารย์คึกฤทธิ์เอง ยังบอกกล่าวให้ผู้อื่นไปศึกษาพุทธวจนะก่อน
และการกล่าวอ้างสิ่งใดก็ตาม ให้มีหลักอ้างถึงกลับไปข้อความเป็นพุทธวจนะ
ดังนั้นผมจึงมีความเห็นว่า หากยึดหลักดังกล่าว เมื่อมีผู้ใดก็ตามจะกล่าวอ้างการใช้ double negative
ก็สมควรจะอ้างถึงข้อความที่เป็นพุทธวจนะด้วย
จึงอยากทราบว่า มีปรากฏการใช้ double negative ในพระไตรปิฎกบ้าง หรือไม่?
(ขออนุญาตแท็กภาษาไทย เผื่อผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาไทยจะมีความเห็นเพิ่มเติมในเรื่องนี้ครับ)
มีปรากฏการใช้ double negative ในภาษาบาลีในพระไตรปิฎก หรือแม้แต่ชั้นอรรถกถาหรือไม่?
เขียนโดยท่านเจ้าคุณปยุตโต
ที่อธิบายแก้ไขคำกล่าวของพระคึกฤทธิ์
ที่มีปกติบอกสอนญาติโยมผู้ฟังบรรยายว่า
1. นิพพานหรืออสังขตธรรมไม่สามารถจัดเป็นทั้งอัตตา ไม่สามารถจัดเป็นทั้งอนัตตา
2. พุทธพจน์ "สัพเพธัมมา อนัตตา" --สัพเพธัมมา หมายเฉพาะถึงสังขตธรรม
ไม่ได้หมายรวมถึงอสังขตธรรม หรือนิพพานไปด้วย
ท่านเจ้าคุณปยุตโต ได้โต้แย้งในหลาย ๆ ประเด็น
มีประเด็นโต้แย้งหนึ่ง เป็นทำนองว่า
ภาษาบาลีโดยทางการ จะไม่มีการใช้ double negative
ในหัวข้อที่ ๓. แมวเป็นช้างก็ไม่ใช่ ไม่เป็นช้างก็ไม่ใช่
คำกล่าวดังกล่าวมีว่า
หน้าที่ 20
http://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/thai_monks_nibhan-anatta.pdf
>
> พอพูดว่า "นิพพานไม่เป็นอัตตา" ก็คือบอกตามคำบาลีว่า
> "นิพพานเป็นอนัตตา" ก็เลยหมดสิทธิที่จะพูดว่า "นิพพานไม่เป็นอนัตตา"
>
ประเด็นนี้น่าสนใจครับ
เพราะแม้พระอาจารย์คึกฤทธิ์เอง ยังบอกกล่าวให้ผู้อื่นไปศึกษาพุทธวจนะก่อน
และการกล่าวอ้างสิ่งใดก็ตาม ให้มีหลักอ้างถึงกลับไปข้อความเป็นพุทธวจนะ
ดังนั้นผมจึงมีความเห็นว่า หากยึดหลักดังกล่าว เมื่อมีผู้ใดก็ตามจะกล่าวอ้างการใช้ double negative
ก็สมควรจะอ้างถึงข้อความที่เป็นพุทธวจนะด้วย
จึงอยากทราบว่า มีปรากฏการใช้ double negative ในพระไตรปิฎกบ้าง หรือไม่?
(ขออนุญาตแท็กภาษาไทย เผื่อผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาไทยจะมีความเห็นเพิ่มเติมในเรื่องนี้ครับ)