คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
นิติเวชศาสตร์ = วิชาแพทย์ที่นำมาใช้หรือเกี่ยวข้องกับงานทางด้านกระบวนการยุติธรรม
คนที่ทำด้านนี้ก็ต้องเป็นแพทย์ครับ
ต้องเรียนจบ แพทยศาสตรบัณฑิต เท่านั้น แล้วไปต่อเฉพาะทาง นิติเวชศาสตร์
เช่น http://www.med.cmu.ac.th/dept/forensic/newweb/dipoma.html
http://grad.md.chula.ac.th/thai/data/curriculum/resident/curriculum_resident57.pdf
http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=2035N02G
http://www.ped.si.mahidol.ac.th/site_data/mymaindata_pedsi/999999/file/HigherGraduateDiploma.pdf
นิติเวชศาสตร์ จะต้องดำเนินการโดยใช้ความรู้เฉพาะทางการแพทย์
เช่น นิติพยาธิวิทยา, นิติพิษวิทยา, นิติเวชคลินิก, นิติจิตเวช, นิติทันตกรรม, นิติเซโรวิทยา, ผ่าชันสูตรพลิกศพ
นิติวิทยาศาตร์ = วิชาความรู้ในทางด้านวิทยาศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้งานทางด้านกระบวนการยุติธรรม
ซึ่งจะเป็นวิชาความรู้ด้านอื่นๆ นอกจากด้านการแพทย์ครับ
เช่น กีฏวิทยา ชีววิทยา ฟิสิกส์ กายวิภาค เคมี คอมพิวเตอร์ วัศดุ ฯลฯ เป็นต้น
คนที่ทำงานด้านนิติวิทยาศาตร์ ไม่จำเป็นต้องจบแพทย์โดยตรง ก็สามารถทำงานด้านนี้ได้ครับ เช่น
การนำความรู้ด้านชีววิทยาของแมลงมาให้ชันสูตรศพ นิติกีฏวิทยา (Forensic Entomology),
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ และการถ่ายรูป (Crime Scene Investigation and Forensic),
การตรวจลายนิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า (Fingerprint, Palmprint, Footprint),
การตรวจเอกสาร (Document) เช่น ตรวจลายเซ็น ลายมือเขียน,
การตรวจอาวุธปืน และกระสุนปืนของกลาง (Forensic Ballistics),
การตรวจทางเคมี (Forensic Chemistry) เช่น ตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารต่าง ๆ,
การตรวจทางฟิสิกส์ (Forensic Physics) เช่น ตรวจร่องรอยการเฉี่ยวชนรถ, วิถีกระสุน
การตรวจทางชีววิทยา (Biological Trace Evidence) เช่น ตรวจเส้นผม เลือด อสุจิ,
การตรวจทางนิติเวช (Forensic Medicine) ได้แก่ งานนิติพยาธิ งานนิติวิทยา งานชีวเคมี งานพิสูจน์บุคคล งานภาพการแพทย์
พอเห็นถึงความแตกต่างไม๊ครับ
สรุป
1. นิติเวชศาสตร์ คุณต้องไปเรียน ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต ให้จบก่อน ถึงจะไปเรียนต่อทาง นิติเวชศาสตร์ ได้ครับ
2. นิติวิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย เปิดสอนในระดับ ป.โท ขึ้นไปเท่านั้นครับ
คุณต้อง จบ ป.ตรี มาก่อน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง ถึงเรียนต่อ ป.โท ทาง นิติวิทยาศาสตร์ ได้ครับ
ซึ่งนิติวิทยาศาสตร์ก็รับ ป.ตรี ได้หลายสาขาครับ ในการเข้าศึกษาต่อ แล้วแต่ทางสถาบันครับ ต้องดูเป็นรายสถาบันไป
เช่น วิทยาศาสตรบัณฑิต, นิติศาสตรบัณฑิต, รัฐศาสตรบัณฑิต, สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ฯลฯ
สถาบันที่เปิดสอน นิติวิทยาศาสตร์ในระดับปริญญาโท เท่าที่ทราบก็ เช่น
ม.เกษตร, ม.ศิลปากร, ม.เชียงใหม่, ม.ธรรมศาสตร์, ม.มหิดล, มรภ.สวนสุนันทา, โรงเรียนนายร้อยตำรวจ เป็นต้น
http://forensicscience.flas.kps.ku.ac.th/
http://www.grad.cmu.ac.th/th/index.php/2012-12-20-19-40-07
http://forensic.sc.su.ac.th/details.php
http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=2024M01G
http://www.appsci.sci.psu.ac.th/index.php/2015-03-06-07-02-34/2015-03-06-07-36-31
http://allied.tu.ac.th/ForensicScience/IndexFs.php
http://gsmis.gs.kku.ac.th/curriculum/program/detail/866
http://www.forensicsciencessru.com/index.php?mo=10&art=41956412
http://forensic.rpca.ac.th/2015/
http://www.forensicsciencessru.com/
คนที่ทำด้านนี้ก็ต้องเป็นแพทย์ครับ
ต้องเรียนจบ แพทยศาสตรบัณฑิต เท่านั้น แล้วไปต่อเฉพาะทาง นิติเวชศาสตร์
เช่น http://www.med.cmu.ac.th/dept/forensic/newweb/dipoma.html
http://grad.md.chula.ac.th/thai/data/curriculum/resident/curriculum_resident57.pdf
http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=2035N02G
http://www.ped.si.mahidol.ac.th/site_data/mymaindata_pedsi/999999/file/HigherGraduateDiploma.pdf
นิติเวชศาสตร์ จะต้องดำเนินการโดยใช้ความรู้เฉพาะทางการแพทย์
เช่น นิติพยาธิวิทยา, นิติพิษวิทยา, นิติเวชคลินิก, นิติจิตเวช, นิติทันตกรรม, นิติเซโรวิทยา, ผ่าชันสูตรพลิกศพ
นิติวิทยาศาตร์ = วิชาความรู้ในทางด้านวิทยาศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้งานทางด้านกระบวนการยุติธรรม
ซึ่งจะเป็นวิชาความรู้ด้านอื่นๆ นอกจากด้านการแพทย์ครับ
เช่น กีฏวิทยา ชีววิทยา ฟิสิกส์ กายวิภาค เคมี คอมพิวเตอร์ วัศดุ ฯลฯ เป็นต้น
คนที่ทำงานด้านนิติวิทยาศาตร์ ไม่จำเป็นต้องจบแพทย์โดยตรง ก็สามารถทำงานด้านนี้ได้ครับ เช่น
การนำความรู้ด้านชีววิทยาของแมลงมาให้ชันสูตรศพ นิติกีฏวิทยา (Forensic Entomology),
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ และการถ่ายรูป (Crime Scene Investigation and Forensic),
การตรวจลายนิ้วมือ ฝ่ามือ ฝ่าเท้า (Fingerprint, Palmprint, Footprint),
การตรวจเอกสาร (Document) เช่น ตรวจลายเซ็น ลายมือเขียน,
การตรวจอาวุธปืน และกระสุนปืนของกลาง (Forensic Ballistics),
การตรวจทางเคมี (Forensic Chemistry) เช่น ตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของสารต่าง ๆ,
การตรวจทางฟิสิกส์ (Forensic Physics) เช่น ตรวจร่องรอยการเฉี่ยวชนรถ, วิถีกระสุน
การตรวจทางชีววิทยา (Biological Trace Evidence) เช่น ตรวจเส้นผม เลือด อสุจิ,
การตรวจทางนิติเวช (Forensic Medicine) ได้แก่ งานนิติพยาธิ งานนิติวิทยา งานชีวเคมี งานพิสูจน์บุคคล งานภาพการแพทย์
พอเห็นถึงความแตกต่างไม๊ครับ
สรุป
1. นิติเวชศาสตร์ คุณต้องไปเรียน ป.ตรี แพทยศาสตรบัณฑิต ให้จบก่อน ถึงจะไปเรียนต่อทาง นิติเวชศาสตร์ ได้ครับ
2. นิติวิทยาศาสตร์ ในประเทศไทย เปิดสอนในระดับ ป.โท ขึ้นไปเท่านั้นครับ
คุณต้อง จบ ป.ตรี มาก่อน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง ถึงเรียนต่อ ป.โท ทาง นิติวิทยาศาสตร์ ได้ครับ
ซึ่งนิติวิทยาศาสตร์ก็รับ ป.ตรี ได้หลายสาขาครับ ในการเข้าศึกษาต่อ แล้วแต่ทางสถาบันครับ ต้องดูเป็นรายสถาบันไป
เช่น วิทยาศาสตรบัณฑิต, นิติศาสตรบัณฑิต, รัฐศาสตรบัณฑิต, สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ฯลฯ
สถาบันที่เปิดสอน นิติวิทยาศาสตร์ในระดับปริญญาโท เท่าที่ทราบก็ เช่น
ม.เกษตร, ม.ศิลปากร, ม.เชียงใหม่, ม.ธรรมศาสตร์, ม.มหิดล, มรภ.สวนสุนันทา, โรงเรียนนายร้อยตำรวจ เป็นต้น
http://forensicscience.flas.kps.ku.ac.th/
http://www.grad.cmu.ac.th/th/index.php/2012-12-20-19-40-07
http://forensic.sc.su.ac.th/details.php
http://www.grad.mahidol.ac.th/th/prospective-students/view.php?id=2024M01G
http://www.appsci.sci.psu.ac.th/index.php/2015-03-06-07-02-34/2015-03-06-07-36-31
http://allied.tu.ac.th/ForensicScience/IndexFs.php
http://gsmis.gs.kku.ac.th/curriculum/program/detail/866
http://www.forensicsciencessru.com/index.php?mo=10&art=41956412
http://forensic.rpca.ac.th/2015/
http://www.forensicsciencessru.com/
แสดงความคิดเห็น
นิติเวชศาสตร์และนิติวิทยาศาสตร์
-อันไหนเรียนแบบไหนแน่?
-ต้องเรียนจบหมอเท่านั้นใช่มั้ย?
แล้วที่ห่วงมากๆเลยคือจบมาจะมีงานทำมั้ยเพราะต้องดูแลพ่อแม่และน้องชายด้วย ตอนนี้สับสนมากๆเพราะเทอมสองแล้วถ้ายังไม่ตัดสินใจกลัวว่าจะมีผลต่ออนาคตตัวเองมากกก เพราะเป็นคนที่ทำไรแทบไม่ได้เลย5555 เลยอยากจะตัดสินใจไวๆจะได้หาข้อมูลถูก
รบกวนหน่อยนะคะ