คือเรื่องมีอยู่ว่า
รถน้องผมโดนจับครับ ในคดีค้ายาเสฟติด เมื่อเดือน มกราคม 58 ตำรวจจึงได้ยึดรถยนต์ไปตรวจสอบด้วย
แม่ผมจึงไปแจ้งกับไฟแนนซ์ว่า รถถูกตำรวจยึดในคดียาเสพติด (ต้องแจ้งตามสัญญาหากรถถูกจับกุม ก็แจ้งเรียบร้อย)
หลังจากนั้น ในเดือน เมษายน กลับมีหนังสือบอกเลิกสัญญามาให้ "เนื่องจากมีรถไปกระทำความผิด" แม่ผมจึงไปแจ้งกับไฟแนซ์ว่า รถเอาไปตรวจสอบโดย ปปส.ก่อน รถยังไม่ได้ถือว่ามีความผิดเลย มาเลิกสัญญาได้ยังไง เจ้าหน้าที่ก็บอกว่าเดี๋ยวจะรับเรื่องไว้แล้วแจ้งกลับ
จนกระทั่ง...................
ศาลพิพากษา เดือน มิถุนายน น้องผมถูกจำคกไป และ ปปส.ส่งหนังสือมาเลยว่า "ตรวจสอบรถยนต์ดังกล่าวแล้ว รถยนต์ดังกล่าวไม่มีความมผิด ให้พ้นผิดและคืนของกลางกับเจ้าของ"
แม่ผมจึงไปรับรถยนต์ตามหนังสือ ปปส. ที่โรงพัก แต่ปรากฏว่ามีเจ้าหน้าที่ไฟแนซ์มารอยึดรถเช่นกัน ทำให้ตำรวจไม่สามารถเอารถคืนแม่ผมได้ บอกให้ไปเจรจากันก่อน
ต่อมาแม่ผมไปเจรจากับธนชาติขอรถคืน และเอาหนังสือ ของ ปปส.ให้ดูเลยว่า รถไม่ได้มีความผิด จะมาบอกเลิกสัญญาและยึดรถไม่ได้ เจ้าหน้าที่จึงบอกแม่ผมว่า ให้ปล่อยรถให้ไฟแนซ์นี้ไปตรวจสอบก่อน แม่ผมจึงไปโรงพักและเซ็นยินยอมให้ไฟแนนซ์ยึดรถไปตรวจสอบ
พอกลับไปที่ไฟแนซ์อีกครั้ง ปรากฏว่า แม่ผมจะชำระเงินที่ค้างไว้ 4 งวด เพื่อผ่อนต่อไป กลับปรากฏว่า เจ้าหน้าที่บอกว่า ต้องชำระทีเดียวเลย ประมาณ 100000 บาท ทั้งๆที่ค่างวดที่ค้างแค่ 40000 บาท มีค่าดำเนินการห่าเหวไรไม่รุ้ เบี้ยปรับต่างๆนานา ใครจะไปมีครับเงินเป็นแสน สุดท้ายข่มขู่ว่า ถ้าไม่มีจ่าย ให้เอาทนายมาคุย ถ้าไม่ได้ ก็ต้องยึดรถขายทอดตลาด....จบสิครับแบบนี้
ผมทราบครับว่าถ้ารถถูกขายทอดตลาดแน่นอนครับ ราคาไม่ถึงครึ่งแน่ๆ แล้วมันจะฟ้องส่วนที่เหลือทีหลัง ....ไปเจอกันที่ศาลนุ้นเลย
วันนี้ มีหนังสือส่งมาบอกว่า ให้ชำระค่างวดที่ค้างทั้งหมด เนื่องจากบริษัทได้ยกเลิกสัญญากับท่านแล้ว หากไม่ชำระใน 7 วัน จะขายรถทอดตลาด
เลยขอปรึกษาครับ
พอดีอ่านเจอข้อความนี้
"สัญญาเช่าซื้อ เปิดโอกาสให้เรานำรถไปคืนได้ โดยค่าใช้จ่ายการส่งคืนเราต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ( ปพพ มาตรา 573)
เมื่อการคืนรถให้ไฟแนนซ์ตาม ม.573 แล้ว ถือได้ว่าสัญญาเช่าซื้อระงับไป ดังนั้นไฟแนนซ์นำรถไปขายได้เงินไม่คุ้มทุนของรถ
จึงมาเรียกเก็บจากเรา โดยอาศัยอ้างอิงจากสัญญาเช่าซื้อเดิมที่ระงับไปแล้วไม่ได้
พูดให้เข้าใจง่ายๆว่า สัญญาระงับไปแล้ว คุณจะอ้างสัญญาที่มันจบไปแล้วมาแสวงหาประโยชน์ไม่ได้นั่นเอง
แต่การที่ไฟแนนซ์นำรถไปขายแล้วไม่คุ้มทุนของรถที่ไฟแนนซ์ได้รับความเสียหายในส่วนนั้น
จึงเป็นกรณีการเรียกค่าเสียหายในส่วนที่ยังขาดอยู่ตามสภาพและราคาของรถในขณะนั้น
เมื่อราคารถที่ไฟแนนซ์เรียกมานั้น สูงเกินจริง และไม่ใช่ราคารถที่แท้จริงในขณะนั้น
จึงไม่อาจเรียกได้ทั้งหมด โดยไฟแนนซ์จะอ้างว่าเป็นดอกเบี้ยอันเกิดจากการคืนรถก่อนเวลาไม่ได้
เพราะถ้าอ้างแบบนั้น คือการอ้างสัญญาที่ระงับไปแล้วนั่นเอง
สรุปเพื่อเข้าใจง่ายๆคือ
เงินที่ไฟแนนซ์เรียกร้องมานั้น ไม่ต้องไปสนใจ
และควรปล่อยให้ไฟแนนซ์ฟ้องศาลมา และดูคำฟ้องและคำขอท้ายฟ้องของไฟแนนซ์ว่า ขอให้ชำระหนี้ค่าอะไรเท่าไร
หากสูงเกินส่วนและมีค่าอย่างอื่นที่ไม่อาจเรียกได้ ก็ต้องโต้แย้งและต่อสู้ในคดีครับ
อย่าตกใจ อย่าเครียด เรื่องแบบนี้มันไม่น่ากลัวอย่างที่คิดหรอกครับ
ผมเข้าใจถูกไหมครับ
ประเด็นที่ผมมองว่า จะสู้คดีได้ ก็คือ เขายกเลิกสัญญาเพราะว่ารถไปทำความผิด แต่ผมมีหลักฐานว่ารถไม่ได้ทำความผิดนิครับ จะถูกต้องหรือ?
ผมเครียดมากครับ ขอคำแนะนำด้วยครับ
รถถูกยึดไปแล้วครับ
รถน้องผมโดนจับครับ ในคดีค้ายาเสฟติด เมื่อเดือน มกราคม 58 ตำรวจจึงได้ยึดรถยนต์ไปตรวจสอบด้วย
แม่ผมจึงไปแจ้งกับไฟแนนซ์ว่า รถถูกตำรวจยึดในคดียาเสพติด (ต้องแจ้งตามสัญญาหากรถถูกจับกุม ก็แจ้งเรียบร้อย)
หลังจากนั้น ในเดือน เมษายน กลับมีหนังสือบอกเลิกสัญญามาให้ "เนื่องจากมีรถไปกระทำความผิด" แม่ผมจึงไปแจ้งกับไฟแนซ์ว่า รถเอาไปตรวจสอบโดย ปปส.ก่อน รถยังไม่ได้ถือว่ามีความผิดเลย มาเลิกสัญญาได้ยังไง เจ้าหน้าที่ก็บอกว่าเดี๋ยวจะรับเรื่องไว้แล้วแจ้งกลับ
จนกระทั่ง...................
ศาลพิพากษา เดือน มิถุนายน น้องผมถูกจำคกไป และ ปปส.ส่งหนังสือมาเลยว่า "ตรวจสอบรถยนต์ดังกล่าวแล้ว รถยนต์ดังกล่าวไม่มีความมผิด ให้พ้นผิดและคืนของกลางกับเจ้าของ"
แม่ผมจึงไปรับรถยนต์ตามหนังสือ ปปส. ที่โรงพัก แต่ปรากฏว่ามีเจ้าหน้าที่ไฟแนซ์มารอยึดรถเช่นกัน ทำให้ตำรวจไม่สามารถเอารถคืนแม่ผมได้ บอกให้ไปเจรจากันก่อน
ต่อมาแม่ผมไปเจรจากับธนชาติขอรถคืน และเอาหนังสือ ของ ปปส.ให้ดูเลยว่า รถไม่ได้มีความผิด จะมาบอกเลิกสัญญาและยึดรถไม่ได้ เจ้าหน้าที่จึงบอกแม่ผมว่า ให้ปล่อยรถให้ไฟแนซ์นี้ไปตรวจสอบก่อน แม่ผมจึงไปโรงพักและเซ็นยินยอมให้ไฟแนนซ์ยึดรถไปตรวจสอบ
พอกลับไปที่ไฟแนซ์อีกครั้ง ปรากฏว่า แม่ผมจะชำระเงินที่ค้างไว้ 4 งวด เพื่อผ่อนต่อไป กลับปรากฏว่า เจ้าหน้าที่บอกว่า ต้องชำระทีเดียวเลย ประมาณ 100000 บาท ทั้งๆที่ค่างวดที่ค้างแค่ 40000 บาท มีค่าดำเนินการห่าเหวไรไม่รุ้ เบี้ยปรับต่างๆนานา ใครจะไปมีครับเงินเป็นแสน สุดท้ายข่มขู่ว่า ถ้าไม่มีจ่าย ให้เอาทนายมาคุย ถ้าไม่ได้ ก็ต้องยึดรถขายทอดตลาด....จบสิครับแบบนี้
ผมทราบครับว่าถ้ารถถูกขายทอดตลาดแน่นอนครับ ราคาไม่ถึงครึ่งแน่ๆ แล้วมันจะฟ้องส่วนที่เหลือทีหลัง ....ไปเจอกันที่ศาลนุ้นเลย
วันนี้ มีหนังสือส่งมาบอกว่า ให้ชำระค่างวดที่ค้างทั้งหมด เนื่องจากบริษัทได้ยกเลิกสัญญากับท่านแล้ว หากไม่ชำระใน 7 วัน จะขายรถทอดตลาด
เลยขอปรึกษาครับ
พอดีอ่านเจอข้อความนี้
"สัญญาเช่าซื้อ เปิดโอกาสให้เรานำรถไปคืนได้ โดยค่าใช้จ่ายการส่งคืนเราต้องเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ( ปพพ มาตรา 573)
เมื่อการคืนรถให้ไฟแนนซ์ตาม ม.573 แล้ว ถือได้ว่าสัญญาเช่าซื้อระงับไป ดังนั้นไฟแนนซ์นำรถไปขายได้เงินไม่คุ้มทุนของรถ
จึงมาเรียกเก็บจากเรา โดยอาศัยอ้างอิงจากสัญญาเช่าซื้อเดิมที่ระงับไปแล้วไม่ได้
พูดให้เข้าใจง่ายๆว่า สัญญาระงับไปแล้ว คุณจะอ้างสัญญาที่มันจบไปแล้วมาแสวงหาประโยชน์ไม่ได้นั่นเอง
แต่การที่ไฟแนนซ์นำรถไปขายแล้วไม่คุ้มทุนของรถที่ไฟแนนซ์ได้รับความเสียหายในส่วนนั้น
จึงเป็นกรณีการเรียกค่าเสียหายในส่วนที่ยังขาดอยู่ตามสภาพและราคาของรถในขณะนั้น
เมื่อราคารถที่ไฟแนนซ์เรียกมานั้น สูงเกินจริง และไม่ใช่ราคารถที่แท้จริงในขณะนั้น
จึงไม่อาจเรียกได้ทั้งหมด โดยไฟแนนซ์จะอ้างว่าเป็นดอกเบี้ยอันเกิดจากการคืนรถก่อนเวลาไม่ได้
เพราะถ้าอ้างแบบนั้น คือการอ้างสัญญาที่ระงับไปแล้วนั่นเอง
สรุปเพื่อเข้าใจง่ายๆคือ
เงินที่ไฟแนนซ์เรียกร้องมานั้น ไม่ต้องไปสนใจ
และควรปล่อยให้ไฟแนนซ์ฟ้องศาลมา และดูคำฟ้องและคำขอท้ายฟ้องของไฟแนนซ์ว่า ขอให้ชำระหนี้ค่าอะไรเท่าไร
หากสูงเกินส่วนและมีค่าอย่างอื่นที่ไม่อาจเรียกได้ ก็ต้องโต้แย้งและต่อสู้ในคดีครับ
อย่าตกใจ อย่าเครียด เรื่องแบบนี้มันไม่น่ากลัวอย่างที่คิดหรอกครับ
ผมเข้าใจถูกไหมครับ
ประเด็นที่ผมมองว่า จะสู้คดีได้ ก็คือ เขายกเลิกสัญญาเพราะว่ารถไปทำความผิด แต่ผมมีหลักฐานว่ารถไม่ได้ทำความผิดนิครับ จะถูกต้องหรือ?
ผมเครียดมากครับ ขอคำแนะนำด้วยครับ