คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 10
ผมลองเขียนแผนภาพให้ดูไม่รู้ว่าจะดูยากกว่าเดิมรึป่าว555

แบบที่ 1 คือไม่มีโลหะใดๆ ประจุตรงใหนความต่างศักย์มาก และระยะทางสั้น ก็ลงตรงนั้น(อื่มเรื่องค่าความต่างศักย์ก็ให้จิตนาการนับประจุเอานะครับเช่น ประจุบวกมี10 ประจุลบมี5 ค่าความต่างศักย์ = 15 (10+(-5)=15 ) คือคิดเเบบนี้ไปก่อนเพราะถ้าจะคำนวนจริงมันเยอะเดี๋ยวจะตัวแปลอีกมันจะยาว)
แบบที่ 2 คือมีโลหะยื่นขึ้นไปสูงจากพื้นดิน แต่ต่อจากพื้นดิน ทำให้ประจุลบไปสะสมบริเวณโลหะทรงกลม แต่หลุดออกไปน้อยมากแบบนี้จะเหมือนว่าลดระยะห่างลงเมื่อศักส์ประจุบริเวณนั้นมากฟ้าจะผ่าลงโลหะทรงกลมแน่นอน
แบบที่ 3 คือมีโลหะยื่นขึ้นไปสูงจากพื้นดิน เหมือนข้อ 2 แต่โลหะเป็นปลายแหลม ทำให้ประจุลบไปสะสมบริเวณโลหะปลายแหลม แต่หลุดออกไปได้มากกว่าแบบทรงกลมมาก แบบนี้ประจุลบเมื่อหลุดออกไปจะวิ่งไฟจับกับประจุบวกแล้วหักล้างกันหายไป เนื่องจากประจุลบหลุดออกไปมากและไปหักล้างกันมาก ทำให้ค่าความต่างศักย์ลดลง โอกาศจะถ่ายเทประจุ(หรือเรียกกันว่า ฟ้าผ่า จะเกิดได้น้อย) แต่ถ้าอัตราการเกิดประจุบวกจากก้อนเมฆ มากกว่าที่โลหะปลายแหลมจะปล่อยประจุได้ทัน ฟ้าก็ผ่าลงมาได้ แต่มันจะเลือกจุดที่มีศักย์มาก ดังแบบที่ 4
แบบที่ 4 เมื่อโลหะปลายแหลมปล่อยประจุตรงข้ามกัน(ในที่นี้ประจุลบ) และหลุดออกไปหักล้างกัน บริเวณนั้นศักย์จะลดลง ส่วนด้านล่างเป็นโลหะเช่นกันแต่มันมีความโค้งมน เรียบ มีประจุเช่นกันแต่ไม่สามารถหลุดออกไปได้ เมื่อมีประจุบวกมายังบรเวณนั้น ย่อมถ่ายเทประจุอย่างมหาศาล ในบริณนั้น

แถมอีกหน่อย ประจุบนก้อนเมฆ มีได้ทั้ง แบบประจุบวกหรือแบบประจุลบ นะครับ หากเมฆเป็นประจุลบ โลกก็จะเป็นประจุบวก บางที่เมฆประจุบวกและเมฆประจุลบมาเจอกันสามารถคายประจุถึงกันได้เราเรียกฟ้าแลบ การมอลเรื่องคายประจุของไฟฟ้าสถิตย์ถ้ามองเหมือนการใหลของกระแสไฟฟ้า อาจจะงงนะครับ ให้มองเป็นประจุนะครับ
ผิดพลาดยังไงก็ขออภันด้วยนะครับ555 มือใหม่ๆ

แบบที่ 1 คือไม่มีโลหะใดๆ ประจุตรงใหนความต่างศักย์มาก และระยะทางสั้น ก็ลงตรงนั้น(อื่มเรื่องค่าความต่างศักย์ก็ให้จิตนาการนับประจุเอานะครับเช่น ประจุบวกมี10 ประจุลบมี5 ค่าความต่างศักย์ = 15 (10+(-5)=15 ) คือคิดเเบบนี้ไปก่อนเพราะถ้าจะคำนวนจริงมันเยอะเดี๋ยวจะตัวแปลอีกมันจะยาว)
แบบที่ 2 คือมีโลหะยื่นขึ้นไปสูงจากพื้นดิน แต่ต่อจากพื้นดิน ทำให้ประจุลบไปสะสมบริเวณโลหะทรงกลม แต่หลุดออกไปน้อยมากแบบนี้จะเหมือนว่าลดระยะห่างลงเมื่อศักส์ประจุบริเวณนั้นมากฟ้าจะผ่าลงโลหะทรงกลมแน่นอน
แบบที่ 3 คือมีโลหะยื่นขึ้นไปสูงจากพื้นดิน เหมือนข้อ 2 แต่โลหะเป็นปลายแหลม ทำให้ประจุลบไปสะสมบริเวณโลหะปลายแหลม แต่หลุดออกไปได้มากกว่าแบบทรงกลมมาก แบบนี้ประจุลบเมื่อหลุดออกไปจะวิ่งไฟจับกับประจุบวกแล้วหักล้างกันหายไป เนื่องจากประจุลบหลุดออกไปมากและไปหักล้างกันมาก ทำให้ค่าความต่างศักย์ลดลง โอกาศจะถ่ายเทประจุ(หรือเรียกกันว่า ฟ้าผ่า จะเกิดได้น้อย) แต่ถ้าอัตราการเกิดประจุบวกจากก้อนเมฆ มากกว่าที่โลหะปลายแหลมจะปล่อยประจุได้ทัน ฟ้าก็ผ่าลงมาได้ แต่มันจะเลือกจุดที่มีศักย์มาก ดังแบบที่ 4
แบบที่ 4 เมื่อโลหะปลายแหลมปล่อยประจุตรงข้ามกัน(ในที่นี้ประจุลบ) และหลุดออกไปหักล้างกัน บริเวณนั้นศักย์จะลดลง ส่วนด้านล่างเป็นโลหะเช่นกันแต่มันมีความโค้งมน เรียบ มีประจุเช่นกันแต่ไม่สามารถหลุดออกไปได้ เมื่อมีประจุบวกมายังบรเวณนั้น ย่อมถ่ายเทประจุอย่างมหาศาล ในบริณนั้น

แถมอีกหน่อย ประจุบนก้อนเมฆ มีได้ทั้ง แบบประจุบวกหรือแบบประจุลบ นะครับ หากเมฆเป็นประจุลบ โลกก็จะเป็นประจุบวก บางที่เมฆประจุบวกและเมฆประจุลบมาเจอกันสามารถคายประจุถึงกันได้เราเรียกฟ้าแลบ การมอลเรื่องคายประจุของไฟฟ้าสถิตย์ถ้ามองเหมือนการใหลของกระแสไฟฟ้า อาจจะงงนะครับ ให้มองเป็นประจุนะครับ
ผิดพลาดยังไงก็ขออภันด้วยนะครับ555 มือใหม่ๆ

สุดยอดความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น
เทพีเสรีภาพสร้างจากทองแดง ทำไมถึงไม่ถูกฟ้าผ่า?
http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E