24 กุมภาพันธ์ 2557 TOT ระบุ AIS เช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 2100 MHz ทำ 4G ( โดยเซ็นก่อน 1 ปี รายได้ 800 ล้านบาท ) หากมีรัฐบาลใหม่ทำเรื่องเสนอ ครม. (ทำธุรกิจแบบเดียวกับ CAT TRUE ) เป็น TOT AIS คาดรายได้ 4000 ล้านบาทต่อปี
ประเด็นหลัก
ทั้งนี้ทีโอทีคาดว่าจะมีรายได้จากโมเดลดังกล่าวจำนวน 4,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งการดำเนินการธุรกิจเหมือนโมเดลเดียวกับบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุ่ม ทรู คอร์ปอเรชั่น ที่ทำร่วมกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม ก่อนหน้านี้ แต่ในโมเดลดังกล่าวต้องรอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่มาอนุมัติก่อน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตอนนี้
ขณะที่โมเดลที่ 2 เป็นการหาทางออกเนื่องจากในโมเดลแรกติดเรื่องการเสนอครม.โดยการแบ่งความถี่ให้เอไอเอสเช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ซึ่งปัจจุบันทีโอทีใช้งานไปแล้ว 10 MHz ในลักษณะเช่าใช้อุปกรณ์ระหว่างกัน ซึ่งจะทำให้
ทีโอทีมีรายได้ราว 800 ล้านบาทต่อปี
'โมเดลที่ 2 ไม่ต้องเสนอครม.เนื่องจากใช้คลื่นความถี่ที่เหลืออยู่ และเป็นปริมาณความจุโครงข่ายที่เก็บไว้ทำตลาดเอง ซึ่งล่าสุดได้หารือกับทางเอไอเอสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงการตรวจสอบความถูกต้องด้านกฏหมายก่อนจะนำเข้าเสนอบอร์ดทีโอทีต่อไปหรือราวเดือน มี.ค.นี้จะได้ข้อสรุป'
นอกจากนี้ความร่วมมือกับเอไอเอสยังจะมีบริการร่วมกันอีก 3ธุรกิจคือ 1. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) 2.ระบบSSID การกระจายจุดแอ็คเซ็ส พอยท์ของบริการไว-ไฟ และ 3. นำบริการจัสเพลย์ของทีโอทีกับแอดวานซ์ เอ็มเปย์ ของเอไอเอสมาให้บริการร่วมกัน ในลักษณะใช้เบอร์โทรศัพท์บ้าน ล็อกอินเข้าไปใช้บริการเอ็มเปย์
แหล่งข่าวยอมรับว่า สำหรับสถานการณ์การเมืองในขณะนี้ ทีโอที ได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ขาดรัฐบาลที่จะมาสนับสนุนและเห็นชอบโครงการที่ รอการอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี (ครม.) อาทิ โครงการลงทุนสร้างโครงข่ายอัจฉริยะเพื่ออนาคต (Next Generation Network : NGN) และโครงการสร้างใยแก้วนำแสง (ไฟเบอร์ออฟติก) หรือ FTTX โดยโครงการ NGN จะส่งผลให้การให้บริการอินเตอร์เนตความเร็วสูงมีความเสถียรมากขึ้น เนื่องจาก เมื่อปรับสายทองแดงเป็นสายไฟเบอร์ออฟติก และปรับเปลี่ยนชุมสายเก่าในหลายพื้นที่ จะทำให้ขยายความเร็วในการให้บริการอินเตอร์เนตได้จากปัจจุบัน 10-15 เมกะบิต (Mpbs) เพิ่มเป็น 15-20 Mpbs ซึ่งก็ยังไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด
นอกจากนี้แผนการลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU)กับ บริษัทคู่สัญญาก็ต้องชะลอออก ไป ซึ่งโครงการที่กล่าวข้างต้น เป็นโครงการที่ ทีโอที และ เอไอเอส จะให้บริการการเชื่อมโยงเครือข่าย (โรมมิ่ง) เข้าด้วย ในคลื่นความถี่ย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) ที่ทีอยู่ยังมีอยู่อีก ราว 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) โดยการให้เอไอเอส เป็นผู้ลงทุนนำเทคโนโลยี LTE มาทดลองให้บริการ เป็นรายแรก
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
23 กุมภาพันธ์ 2557 ( บทความ ) It Movement 23/02/57 // ระบุ TOT และ AIS บรรลุข้อตกลงทางธุรกิจร่วมกันแล้วจริง!! TOT จะให้ AIS โรมมิ่งเครือข่าย 3 จี 2.1 GHz รวมทั้งการใช้ WiFi ของ TOT ด้วย รายได้ขั้นต่ำ 800 ล้านบาท
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/23-2557-it-movement-230257-tot-ais-tot.html
20 กุมภาพันธ์ 2557 TOT ทำสัญญารูปแบบใหม่กับ AIS โดยใช้ชื่อ แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ค ลงนามและระยะเวลาเบื้องต้น1ปี ลงเงิน 15000 ล้านบาท
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/20-2557-tot-ais-1-15000.html
19 กุมภาพันธ์ 2557 TOT จับมือ AIS เดินหน้าTOT3G เฟส2 (สัญญาแบบ CAT TRUE ) มูลค่า 3 หมื่นล้านบาท โดย AIS มีสิทธิใช้คลื่น 2100 ของ TOT ( การร่วมมือ TOT ไม่เงินกู้ 2.2 ลลบ. แล้ว )
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/19-2557-tot-ais-tot3g-2-cat-true-3-ais.html
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/218401/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5+%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87+3+%E0%B8%88%E0%B8%B5+%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9A+3+%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A5.
http://www.naewna.com/business/91976
http://m.thairath.co.th/content/tech/405783
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9570000021632&Keyword=%b7%d5%e2%cd%b7%d5
______________________________________
ทีโอทีคาดปี 2557 ขาดทุน 5 พันล้านบาท
หลังหมดรายได้จากสัญญาสัมปทาน ทีโอทีคาดผลประกอบการปี 2557 มีรายได้ 3.1หมื่นล้านบาทโตขึ้น 10% แต่ขาดทุนประมาณ 5 พันล้านบาท กางแผน3G เฟส 2 ไม่ลงทุนเองปรับแผจับมือเอไอเอสแทน ทั้งแผนหลักรอเสนอครม.ชุดใหม่ และแผนรองที่ดูรายละเอียดด้านกฎหมาย คาดได้ข้อสรุปเสนอบอร์ดมี.ค.นี้ ฟันรายได้ปีละ 800 ล้านบาท
นายยงยุทธ วัฒนสินธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที กล่าวภายในงานวันครบรอบการก่อตั้งองค์กร 60ปีของทีโอที เมื่อวันที่ 24 ก.พ.ว่าความคืบหน้าโครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เฟส 2 ของทีโอทีตอนนี้มีการปรับแผนจากเดิมที่ทีโอทีจะลงทุนเองในการขยายสถานีฐานเพิ่มอีกราว 9,000 สถานีฐาน ภายใต้งบประมาณที่ตั้งไว้จำนวน 30,000 ล้านบาท มาเป็นการจับมือกับพาร์ทเนอร์เข้ามาร่วมลงทุนให้แทนโดยทีโอทีไม่ต้องลงทุน เพิ่มเติมเลยซึ่งในเบื้องต้นมี 2 โมเดลในการดำเนินการคือโมเดลที่ 1.การให้บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด หรือ เอไอเอส เช่าใช้โครงข่ายบนคลื่นความถี่ 1900 MHz จำนวนความถี่ 15MHz ของทีโอที และการร่วมกันใช้สถานีฐานทีโอทีจำนวน 5,320 สถานีฐาน รวมถึงสถานีฐานของเอไอเอสที่ภายในสิ้นปีนี้จะมีอีก 15,000 สถานีฐาน
ทั้งนี้ทีโอทีคาดว่าจะมีรายได้จากโมเดลดังกล่าวจำนวน 4,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งการดำเนินการธุรกิจเหมือนโมเดลเดียวกับบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุ่ม ทรู คอร์ปอเรชั่น ที่ทำร่วมกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม ก่อนหน้านี้ แต่ในโมเดลดังกล่าวต้องรอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่มาอนุมัติก่อน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตอนนี้
ขณะที่โมเดลที่ 2 เป็นการหาทางออกเนื่องจากในโมเดลแรกติดเรื่องการเสนอครม.โดยการแบ่งความถี่ให้เอไอเอสเช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ซึ่งปัจจุบันทีโอทีใช้งานไปแล้ว 10 MHz ในลักษณะเช่าใช้อุปกรณ์ระหว่างกัน ซึ่งจะทำให้
ทีโอทีมีรายได้ราว 800 ล้านบาทต่อปี
'โมเดลที่ 2 ไม่ต้องเสนอครม.เนื่องจากใช้คลื่นความถี่ที่เหลืออยู่ และเป็นปริมาณความจุโครงข่ายที่เก็บไว้ทำตลาดเอง ซึ่งล่าสุดได้หารือกับทางเอไอเอสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงการตรวจสอบความถูกต้องด้านกฏหมายก่อนจะนำเข้าเสนอบอร์ดทีโอทีต่อไปหรือราวเดือน มี.ค.นี้จะได้ข้อสรุป'
นอกจากนี้ความร่วมมือกับเอไอเอสยังจะมีบริการร่วมกันอีก 3ธุรกิจคือ 1. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) 2.ระบบSSID การกระจายจุดแอ็คเซ็ส พอยท์ของบริการไว-ไฟ และ 3. นำบริการจัสเพลย์ของทีโอทีกับแอดวานซ์ เอ็มเปย์ ของเอไอเอสมาให้บริการร่วมกัน ในลักษณะใช้เบอร์โทรศัพท์บ้าน ล็อกอินเข้าไปใช้บริการเอ็มเปย์
'เพื่อความอยู่รอดของทีโอทีไม่ว่าจะเป็นเอกชนรายใดที่เสนอทางเลือกมาเราก็พร้อมจะคุย ด้วย ซึ่งก็ไม่ได้คุยกับเอไอเอสเพียงรายเดียวเท่านั้น เนื่องจากตอนนี้ก็มีบริษัท ล็อกซเล่ย์ ที่เสนอโมเดลใกล้เคียงกันกับเอไอเอสเช่นเดียวกัน'
ขณะเดียวกันทีโอทีตั้งเป้ารายได้ปี 2557 ไว้ 31,744 ล้านบาท หรือเติบโตจากปีก่อน 10% ซึ่งการเติบโตสำคัญจากบริการ 3G ที่คาดว่าจะมีรายได้ 2,992 ล้าน จากจำนวนลูกค้าประมาณ 2.6 ล้านรายตามแผนการทำตลาดร่วมกับเอไอเอส และรายได้จากบริการโทรศัพท์พื้นฐาน บรอดแบนด์ และมัลติมีเดีย และรายได้เพิ่มอีกจำนวน 5,873 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้จากการประมูลงานUSO ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ตามแผนงานสร้างไว-ไฟ และแผนงานขยายFTTx 120,000 พอร์ต
อย่างไรก็ตาม ในปี 2557ทีโอที จะขาดทุนประมาณ 5,000 ล้านบาท เนื่องจากมาตรา 84 วรรค 3 ของพรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ทำให้ทีโอที ไม่มีรายได้จากค่าสัมปทาน แต่หากทำได้ตามแผนทีโอทีจะขาดทุนปี 2557 เพียงปีเดียวเท่านั้นส่วนปี 2558 จะเริ่มกลับมีกำไรในหลักร้อยล้านบาท โดยแผนการลงทุนตามแผนฟื้นฟู ทีโอที จะมีการลงทุนในโครงการที่มีโอกาสทางการตลาด และสร้างรายได้ให้กับ ทีโอที ระยะยาว
ทั้งนี้ทีโอทีมี 3 โครงการใหญ่ที่จะต้องรออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อน ประกอบด้วย1.โครงการบรอดแบนด์ความเร็วสูง จำนวน 2 ล้านพอร์ต มูลค่าประมาณ 32,000 ล้านบาท 2.โครงการลงทุนระบบเคเบิลใต้น้ำระหว่างประเทศเพื่อรองรับบริการอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ มูลค่าประมาณ 6,000 ล้านบาท และ 3.โครงการสร้างโครงข่ายอัจฉริยะ (NGN) มูลค่าประมาณ 2,800 ล้านบาท
นายยงยุทธ กล่าวว่าสำหรับทิศทางการประกอบธุรกิจของ ทีโอที ในปี 2557 จะมุ่งที่การพัฒนารูปแบบการทำธุรกิจ การหาธุรกิจใหม่ ๆ และหาช่องทางใหม่ ๆ ที่จะสร้างรายได้มาทดแทนที่หายไป พร้อมกับการหาพันธมิตรที่จะมาเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยธุรกิจที่ ทีโอที เร่งดำเนินการทั้งในด้านการปรับกลยุทธ์การตลาดรวมถึงการหาพันธมิตรทำธุรกิจ ร่วมกัน มีอยู่ 4 ธุรกิจใหญ่ คือ 1.ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยการตลาดจะเน้นรูปแบบMVNOเป็นหลัก 2.ธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) ทีโอที ได้มีการปรับแผนการทำตลาดใหม่ ด้วยการย้ายลูกค้าระดับพรีเมียมจำนวนประมาณ 4.2 แสนรายไปใช้บริการบนโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติก ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงถึง 100 Mbps เพื่อรองรับบริการควอตเพลย์ในอนาคต 3.ธุรกิจโทรศัพท์พื้นฐาน ได้ลงนามร่วมกับบริษัท สกายไฮ ในการเพิ่มมูลค่าโทรศัพท์พื้นฐานด้วยการพัฒนาบริการเสริม Call Greeting สำหรับลูกค้า SMEs และ 4.ธุรกิจด้านคอนเทนต์และแอปพลิเคชั่น โดยนอกจากร่วมมือกับเอ็มเปย์ของเอไอเอสแล้ว ทีโอทีก็จะมีความร่วมมือกับสหมงคลฟิล์มเพื่อให้บริการคอนเทนต์ด้านภาพยนตร์และความบันเทิง
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9570000021632&Keyword=%b7%d5%e2%cd%b7%d5
_________________________________
?ทีโอที หวัง 3 จี สร้างรายได้ปีนี้เกือบ 3 พันล.?
ทีโอที แจง กำไรปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 4,128 ล้านบาท ลดลงจากปี 55 ถึง 62% ตั้งเป้ารายได้ปี 57 ไว้ที่ 3 หมื่นกว่าล้านบาท โต 10% หวังธุรกิจ 3จี จะสร้างรายได้ให้เกือบ 3 พันล้านบาทต่อปี
ผมขอเปลื่ยนชื่อจาก So Magawn เป็น Magawn19 (มันมีความหมายว่าเริ่มเล่นพันทิปอายุ19ครับ) มีผลทุกช่องทางนะครับ รวมถึงคลังความรู้โทรคมนาคมและการสือสาร
http://magawn19.blogspot.com/
TOT ระบุ AIS เช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 2100 MHz ทำ 4G (โดยเซ็นก่อน 1 ปี)ได้รัฐบาลใหม่TOTทำสัญญากับAISแบบCAT-TRUE
ประเด็นหลัก
ทั้งนี้ทีโอทีคาดว่าจะมีรายได้จากโมเดลดังกล่าวจำนวน 4,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งการดำเนินการธุรกิจเหมือนโมเดลเดียวกับบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุ่ม ทรู คอร์ปอเรชั่น ที่ทำร่วมกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม ก่อนหน้านี้ แต่ในโมเดลดังกล่าวต้องรอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่มาอนุมัติก่อน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตอนนี้
ขณะที่โมเดลที่ 2 เป็นการหาทางออกเนื่องจากในโมเดลแรกติดเรื่องการเสนอครม.โดยการแบ่งความถี่ให้เอไอเอสเช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ซึ่งปัจจุบันทีโอทีใช้งานไปแล้ว 10 MHz ในลักษณะเช่าใช้อุปกรณ์ระหว่างกัน ซึ่งจะทำให้
ทีโอทีมีรายได้ราว 800 ล้านบาทต่อปี
'โมเดลที่ 2 ไม่ต้องเสนอครม.เนื่องจากใช้คลื่นความถี่ที่เหลืออยู่ และเป็นปริมาณความจุโครงข่ายที่เก็บไว้ทำตลาดเอง ซึ่งล่าสุดได้หารือกับทางเอไอเอสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงการตรวจสอบความถูกต้องด้านกฏหมายก่อนจะนำเข้าเสนอบอร์ดทีโอทีต่อไปหรือราวเดือน มี.ค.นี้จะได้ข้อสรุป'
นอกจากนี้ความร่วมมือกับเอไอเอสยังจะมีบริการร่วมกันอีก 3ธุรกิจคือ 1. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) 2.ระบบSSID การกระจายจุดแอ็คเซ็ส พอยท์ของบริการไว-ไฟ และ 3. นำบริการจัสเพลย์ของทีโอทีกับแอดวานซ์ เอ็มเปย์ ของเอไอเอสมาให้บริการร่วมกัน ในลักษณะใช้เบอร์โทรศัพท์บ้าน ล็อกอินเข้าไปใช้บริการเอ็มเปย์
แหล่งข่าวยอมรับว่า สำหรับสถานการณ์การเมืองในขณะนี้ ทีโอที ได้รับผลกระทบเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ขาดรัฐบาลที่จะมาสนับสนุนและเห็นชอบโครงการที่ รอการอนุมัติจาก คณะรัฐมนตรี (ครม.) อาทิ โครงการลงทุนสร้างโครงข่ายอัจฉริยะเพื่ออนาคต (Next Generation Network : NGN) และโครงการสร้างใยแก้วนำแสง (ไฟเบอร์ออฟติก) หรือ FTTX โดยโครงการ NGN จะส่งผลให้การให้บริการอินเตอร์เนตความเร็วสูงมีความเสถียรมากขึ้น เนื่องจาก เมื่อปรับสายทองแดงเป็นสายไฟเบอร์ออฟติก และปรับเปลี่ยนชุมสายเก่าในหลายพื้นที่ จะทำให้ขยายความเร็วในการให้บริการอินเตอร์เนตได้จากปัจจุบัน 10-15 เมกะบิต (Mpbs) เพิ่มเป็น 15-20 Mpbs ซึ่งก็ยังไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด
นอกจากนี้แผนการลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU)กับ บริษัทคู่สัญญาก็ต้องชะลอออก ไป ซึ่งโครงการที่กล่าวข้างต้น เป็นโครงการที่ ทีโอที และ เอไอเอส จะให้บริการการเชื่อมโยงเครือข่าย (โรมมิ่ง) เข้าด้วย ในคลื่นความถี่ย่าน 2.1 กิกะเฮิรตซ์ (GHz) ที่ทีอยู่ยังมีอยู่อีก ราว 5 เมกะเฮิรตซ์ (MHz) โดยการให้เอไอเอส เป็นผู้ลงทุนนำเทคโนโลยี LTE มาทดลองให้บริการ เป็นรายแรก
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
23 กุมภาพันธ์ 2557 ( บทความ ) It Movement 23/02/57 // ระบุ TOT และ AIS บรรลุข้อตกลงทางธุรกิจร่วมกันแล้วจริง!! TOT จะให้ AIS โรมมิ่งเครือข่าย 3 จี 2.1 GHz รวมทั้งการใช้ WiFi ของ TOT ด้วย รายได้ขั้นต่ำ 800 ล้านบาท
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/23-2557-it-movement-230257-tot-ais-tot.html
20 กุมภาพันธ์ 2557 TOT ทำสัญญารูปแบบใหม่กับ AIS โดยใช้ชื่อ แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ตเวิร์ค ลงนามและระยะเวลาเบื้องต้น1ปี ลงเงิน 15000 ล้านบาท
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/20-2557-tot-ais-1-15000.html
19 กุมภาพันธ์ 2557 TOT จับมือ AIS เดินหน้าTOT3G เฟส2 (สัญญาแบบ CAT TRUE ) มูลค่า 3 หมื่นล้านบาท โดย AIS มีสิทธิใช้คลื่น 2100 ของ TOT ( การร่วมมือ TOT ไม่เงินกู้ 2.2 ลลบ. แล้ว )
http://magawn19.blogspot.com/2014/02/19-2557-tot-ais-tot3g-2-cat-true-3-ais.html
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/218401/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%B5+%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87+3+%E0%B8%88%E0%B8%B5+%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%9A+3+%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A5.
http://www.naewna.com/business/91976
http://m.thairath.co.th/content/tech/405783
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9570000021632&Keyword=%b7%d5%e2%cd%b7%d5
______________________________________
ทีโอทีคาดปี 2557 ขาดทุน 5 พันล้านบาท
หลังหมดรายได้จากสัญญาสัมปทาน ทีโอทีคาดผลประกอบการปี 2557 มีรายได้ 3.1หมื่นล้านบาทโตขึ้น 10% แต่ขาดทุนประมาณ 5 พันล้านบาท กางแผน3G เฟส 2 ไม่ลงทุนเองปรับแผจับมือเอไอเอสแทน ทั้งแผนหลักรอเสนอครม.ชุดใหม่ และแผนรองที่ดูรายละเอียดด้านกฎหมาย คาดได้ข้อสรุปเสนอบอร์ดมี.ค.นี้ ฟันรายได้ปีละ 800 ล้านบาท
นายยงยุทธ วัฒนสินธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีโอที กล่าวภายในงานวันครบรอบการก่อตั้งองค์กร 60ปีของทีโอที เมื่อวันที่ 24 ก.พ.ว่าความคืบหน้าโครงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 3G เฟส 2 ของทีโอทีตอนนี้มีการปรับแผนจากเดิมที่ทีโอทีจะลงทุนเองในการขยายสถานีฐานเพิ่มอีกราว 9,000 สถานีฐาน ภายใต้งบประมาณที่ตั้งไว้จำนวน 30,000 ล้านบาท มาเป็นการจับมือกับพาร์ทเนอร์เข้ามาร่วมลงทุนให้แทนโดยทีโอทีไม่ต้องลงทุน เพิ่มเติมเลยซึ่งในเบื้องต้นมี 2 โมเดลในการดำเนินการคือโมเดลที่ 1.การให้บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด หรือ เอไอเอส เช่าใช้โครงข่ายบนคลื่นความถี่ 1900 MHz จำนวนความถี่ 15MHz ของทีโอที และการร่วมกันใช้สถานีฐานทีโอทีจำนวน 5,320 สถานีฐาน รวมถึงสถานีฐานของเอไอเอสที่ภายในสิ้นปีนี้จะมีอีก 15,000 สถานีฐาน
ทั้งนี้ทีโอทีคาดว่าจะมีรายได้จากโมเดลดังกล่าวจำนวน 4,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งการดำเนินการธุรกิจเหมือนโมเดลเดียวกับบริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือกลุ่ม ทรู คอร์ปอเรชั่น ที่ทำร่วมกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม ก่อนหน้านี้ แต่ในโมเดลดังกล่าวต้องรอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่มาอนุมัติก่อน ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตอนนี้
ขณะที่โมเดลที่ 2 เป็นการหาทางออกเนื่องจากในโมเดลแรกติดเรื่องการเสนอครม.โดยการแบ่งความถี่ให้เอไอเอสเช่าใช้จำนวน 5 MHz บนคลื่นความถี่ 1900 MHz ซึ่งปัจจุบันทีโอทีใช้งานไปแล้ว 10 MHz ในลักษณะเช่าใช้อุปกรณ์ระหว่างกัน ซึ่งจะทำให้
ทีโอทีมีรายได้ราว 800 ล้านบาทต่อปี
'โมเดลที่ 2 ไม่ต้องเสนอครม.เนื่องจากใช้คลื่นความถี่ที่เหลืออยู่ และเป็นปริมาณความจุโครงข่ายที่เก็บไว้ทำตลาดเอง ซึ่งล่าสุดได้หารือกับทางเอไอเอสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เหลือเพียงการตรวจสอบความถูกต้องด้านกฏหมายก่อนจะนำเข้าเสนอบอร์ดทีโอทีต่อไปหรือราวเดือน มี.ค.นี้จะได้ข้อสรุป'
นอกจากนี้ความร่วมมือกับเอไอเอสยังจะมีบริการร่วมกันอีก 3ธุรกิจคือ 1. อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) 2.ระบบSSID การกระจายจุดแอ็คเซ็ส พอยท์ของบริการไว-ไฟ และ 3. นำบริการจัสเพลย์ของทีโอทีกับแอดวานซ์ เอ็มเปย์ ของเอไอเอสมาให้บริการร่วมกัน ในลักษณะใช้เบอร์โทรศัพท์บ้าน ล็อกอินเข้าไปใช้บริการเอ็มเปย์
'เพื่อความอยู่รอดของทีโอทีไม่ว่าจะเป็นเอกชนรายใดที่เสนอทางเลือกมาเราก็พร้อมจะคุย ด้วย ซึ่งก็ไม่ได้คุยกับเอไอเอสเพียงรายเดียวเท่านั้น เนื่องจากตอนนี้ก็มีบริษัท ล็อกซเล่ย์ ที่เสนอโมเดลใกล้เคียงกันกับเอไอเอสเช่นเดียวกัน'
ขณะเดียวกันทีโอทีตั้งเป้ารายได้ปี 2557 ไว้ 31,744 ล้านบาท หรือเติบโตจากปีก่อน 10% ซึ่งการเติบโตสำคัญจากบริการ 3G ที่คาดว่าจะมีรายได้ 2,992 ล้าน จากจำนวนลูกค้าประมาณ 2.6 ล้านรายตามแผนการทำตลาดร่วมกับเอไอเอส และรายได้จากบริการโทรศัพท์พื้นฐาน บรอดแบนด์ และมัลติมีเดีย และรายได้เพิ่มอีกจำนวน 5,873 ล้านบาท ซึ่งเป็นรายได้จากการประมูลงานUSO ของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ตามแผนงานสร้างไว-ไฟ และแผนงานขยายFTTx 120,000 พอร์ต
อย่างไรก็ตาม ในปี 2557ทีโอที จะขาดทุนประมาณ 5,000 ล้านบาท เนื่องจากมาตรา 84 วรรค 3 ของพรบ.องค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ฯ ทำให้ทีโอที ไม่มีรายได้จากค่าสัมปทาน แต่หากทำได้ตามแผนทีโอทีจะขาดทุนปี 2557 เพียงปีเดียวเท่านั้นส่วนปี 2558 จะเริ่มกลับมีกำไรในหลักร้อยล้านบาท โดยแผนการลงทุนตามแผนฟื้นฟู ทีโอที จะมีการลงทุนในโครงการที่มีโอกาสทางการตลาด และสร้างรายได้ให้กับ ทีโอที ระยะยาว
ทั้งนี้ทีโอทีมี 3 โครงการใหญ่ที่จะต้องรออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อน ประกอบด้วย1.โครงการบรอดแบนด์ความเร็วสูง จำนวน 2 ล้านพอร์ต มูลค่าประมาณ 32,000 ล้านบาท 2.โครงการลงทุนระบบเคเบิลใต้น้ำระหว่างประเทศเพื่อรองรับบริการอินเทอร์เน็ต ระหว่างประเทศ มูลค่าประมาณ 6,000 ล้านบาท และ 3.โครงการสร้างโครงข่ายอัจฉริยะ (NGN) มูลค่าประมาณ 2,800 ล้านบาท
นายยงยุทธ กล่าวว่าสำหรับทิศทางการประกอบธุรกิจของ ทีโอที ในปี 2557 จะมุ่งที่การพัฒนารูปแบบการทำธุรกิจ การหาธุรกิจใหม่ ๆ และหาช่องทางใหม่ ๆ ที่จะสร้างรายได้มาทดแทนที่หายไป พร้อมกับการหาพันธมิตรที่จะมาเสริมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยธุรกิจที่ ทีโอที เร่งดำเนินการทั้งในด้านการปรับกลยุทธ์การตลาดรวมถึงการหาพันธมิตรทำธุรกิจ ร่วมกัน มีอยู่ 4 ธุรกิจใหญ่ คือ 1.ธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยการตลาดจะเน้นรูปแบบMVNOเป็นหลัก 2.ธุรกิจอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (บรอดแบนด์) ทีโอที ได้มีการปรับแผนการทำตลาดใหม่ ด้วยการย้ายลูกค้าระดับพรีเมียมจำนวนประมาณ 4.2 แสนรายไปใช้บริการบนโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติก ที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงถึง 100 Mbps เพื่อรองรับบริการควอตเพลย์ในอนาคต 3.ธุรกิจโทรศัพท์พื้นฐาน ได้ลงนามร่วมกับบริษัท สกายไฮ ในการเพิ่มมูลค่าโทรศัพท์พื้นฐานด้วยการพัฒนาบริการเสริม Call Greeting สำหรับลูกค้า SMEs และ 4.ธุรกิจด้านคอนเทนต์และแอปพลิเคชั่น โดยนอกจากร่วมมือกับเอ็มเปย์ของเอไอเอสแล้ว ทีโอทีก็จะมีความร่วมมือกับสหมงคลฟิล์มเพื่อให้บริการคอนเทนต์ด้านภาพยนตร์และความบันเทิง
http://www.manager.co.th/Cyberbiz/ViewNews.aspx?NewsID=9570000021632&Keyword=%b7%d5%e2%cd%b7%d5
_________________________________
?ทีโอที หวัง 3 จี สร้างรายได้ปีนี้เกือบ 3 พันล.?
ทีโอที แจง กำไรปีที่ผ่านมาอยู่ที่ 4,128 ล้านบาท ลดลงจากปี 55 ถึง 62% ตั้งเป้ารายได้ปี 57 ไว้ที่ 3 หมื่นกว่าล้านบาท โต 10% หวังธุรกิจ 3จี จะสร้างรายได้ให้เกือบ 3 พันล้านบาทต่อปี
ผมขอเปลื่ยนชื่อจาก So Magawn เป็น Magawn19 (มันมีความหมายว่าเริ่มเล่นพันทิปอายุ19ครับ) มีผลทุกช่องทางนะครับ รวมถึงคลังความรู้โทรคมนาคมและการสือสาร http://magawn19.blogspot.com/