ผมได้ค้นหาหลักการทำงานของเครื่องปฏิกรณ์อาร์ค ตามกระแสหนังดัง ว่ามีหลักการทำงานอย่างไร ที่ให้พลังงานไม่มีวันจบ ได้ค้นเจอ
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1a7d2ae0c43f089e
แล้วก็ทราบว่า หัวใจสำคัญอยู่ที่ พาลาเดียม เลยค้นต่อ ได้
http://www.nangdee.com/webboard/viewtopic.php?t=11912
ทำให้ทราบว่า มีการนำพาลาเดียมไปทดลองในเรื่องของ Cold Fusion ด้วย ผมจึงค้นต่อเพราะเคยผ่านตามาบ้างจากเกมส์ในอดีต คือ C&C General ฝั่ง US ที่มีโรงไฟฟ้าเป็นแบบ Cold Fusion จึงสนใจอยากทราบการทำงานเหมือนกันว่านำเอามากำเนิดไฟฟ้าได้อย่างไร เลยค้นต่อ ได้
http://www.nst.or.th/article/notes02/cfr01.htm
อ่านดูแล้ว เกิดอาการ งงปนสับสน ระหว่าง Fusion กับ Fission ในการกำเนิดพลังงาน มากเลยครับ
พอจะมีใครสรุปใจความสำคัญให้เข้าใจได้ไหมครับว่า Cold Fusion กับ Fusion และ Fission หลักๆ ในการกำเนิดความร้อน หรือ พลังงานแตกต่างกันอย่างไรครับ
อีกข้อครับ อย่างคำว่า "ทริคกระแสไฟฟ้า" และ "การซ็อตเซอร์กิต" หมายถึงอะไรครับ จากบทความปฏิกรณ์อาร์ค
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1a7d2ae0c43f089e
หลักการของเตาปฏิกรณ์อาร์ค
เป็นเครื่องปฏิกรณ์ที่อาศัยหลักการทางไฟฟ้า โดยการนำเอาทฤษฎี การลัดวงจรของกระแสไฟฟ้า บนแกนเพอร์ริเดียม เมื่อให้พลังงานกับขดลวดที่อยู่บนแกเพอร์ริเดียม กระแสไฟก็จะเคลื่อนที่ผ่านขดลวด เมื่อลองคิดสภาพขดลวดที่คลี่ออก จะพบว่าถูกเชื่อมต่อเป็นวงกลม พลังงานที่ให้หรือจ่ายเข้าไปก็จะเคลื่อนที่ในลักษณะงูกินหาง เมื่อ
กระแสเกิดการช็อตเซอร์กิท ความเร็วและปริมาณของกระแสก็จะเพิ่มขึ้นตามคาบเวลา จากการที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปบนขดลวดที่พันอยู่บนแกนเพอร์ริเดียมทำให้ เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นในเวลาเดียวกัน ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า และเมื่อหยุดการจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายกระแส สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นก็จะทำหน้าที่เป็นตัวเร่งการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นก็จะถูก
ทริ๊กออกจากวงจรเพื่อป้องกันวงจรขาดอันเนื่องมาจากความร้อน ความร้อนก็จะเกิดจากความเร็วและปริมาณของกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าที่ถูกทริ๊กออกมานั้นก็จะถูกนำไปใช้งานส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งก็จะถูกนำกลับไป
ทริ๊กให้กับวงจรเพื่อให้วงจรเกิดการเคลื่อนที่ต่อไป ลักษณะการทริ๊กจะเกิดขึ้นเร็วมากทำให้พลังงานไฟฟ้าที่ได้ออกมาค่อนข้างจะเสถียร ความเร็วในการทริ๊กจะได้จาก d (ปริมาณ+ความเร็วกระแส / คาบเวลา) ยกกำลัง 2 ทั้งนี้ต้องคิดร่วมกับขนาดของแกนเพอร์ริเดียมและขนาดของขดลวดผลที่ได้คูณด้วย 1012 จะได้หน่วยกำลังต่อ millisecond พูดง่าย ๆ มันจะผลิตพลังงานไปเรื่อยๆ ไม่มีวันหยุด จนกว่าแกนจะพัง
ถามเรื่องปฏิกริยา Cold Fusion, Fusion, Fission ครับ
แล้วก็ทราบว่า หัวใจสำคัญอยู่ที่ พาลาเดียม เลยค้นต่อ ได้ http://www.nangdee.com/webboard/viewtopic.php?t=11912
ทำให้ทราบว่า มีการนำพาลาเดียมไปทดลองในเรื่องของ Cold Fusion ด้วย ผมจึงค้นต่อเพราะเคยผ่านตามาบ้างจากเกมส์ในอดีต คือ C&C General ฝั่ง US ที่มีโรงไฟฟ้าเป็นแบบ Cold Fusion จึงสนใจอยากทราบการทำงานเหมือนกันว่านำเอามากำเนิดไฟฟ้าได้อย่างไร เลยค้นต่อ ได้ http://www.nst.or.th/article/notes02/cfr01.htm
อ่านดูแล้ว เกิดอาการ งงปนสับสน ระหว่าง Fusion กับ Fission ในการกำเนิดพลังงาน มากเลยครับ
พอจะมีใครสรุปใจความสำคัญให้เข้าใจได้ไหมครับว่า Cold Fusion กับ Fusion และ Fission หลักๆ ในการกำเนิดความร้อน หรือ พลังงานแตกต่างกันอย่างไรครับ
อีกข้อครับ อย่างคำว่า "ทริคกระแสไฟฟ้า" และ "การซ็อตเซอร์กิต" หมายถึงอะไรครับ จากบทความปฏิกรณ์อาร์ค http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1a7d2ae0c43f089e
หลักการของเตาปฏิกรณ์อาร์ค
เป็นเครื่องปฏิกรณ์ที่อาศัยหลักการทางไฟฟ้า โดยการนำเอาทฤษฎี การลัดวงจรของกระแสไฟฟ้า บนแกนเพอร์ริเดียม เมื่อให้พลังงานกับขดลวดที่อยู่บนแกเพอร์ริเดียม กระแสไฟก็จะเคลื่อนที่ผ่านขดลวด เมื่อลองคิดสภาพขดลวดที่คลี่ออก จะพบว่าถูกเชื่อมต่อเป็นวงกลม พลังงานที่ให้หรือจ่ายเข้าไปก็จะเคลื่อนที่ในลักษณะงูกินหาง เมื่อกระแสเกิดการช็อตเซอร์กิท ความเร็วและปริมาณของกระแสก็จะเพิ่มขึ้นตามคาบเวลา จากการที่กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ไปบนขดลวดที่พันอยู่บนแกนเพอร์ริเดียมทำให้ เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นในเวลาเดียวกัน ลักษณะการเคลื่อนที่ของกระแสแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า และเมื่อหยุดการจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายกระแส สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นก็จะทำหน้าที่เป็นตัวเร่งการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นก็จะถูกทริ๊กออกจากวงจรเพื่อป้องกันวงจรขาดอันเนื่องมาจากความร้อน ความร้อนก็จะเกิดจากความเร็วและปริมาณของกระแสไฟฟ้า ไฟฟ้าที่ถูกทริ๊กออกมานั้นก็จะถูกนำไปใช้งานส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งก็จะถูกนำกลับไปทริ๊กให้กับวงจรเพื่อให้วงจรเกิดการเคลื่อนที่ต่อไป ลักษณะการทริ๊กจะเกิดขึ้นเร็วมากทำให้พลังงานไฟฟ้าที่ได้ออกมาค่อนข้างจะเสถียร ความเร็วในการทริ๊กจะได้จาก d (ปริมาณ+ความเร็วกระแส / คาบเวลา) ยกกำลัง 2 ทั้งนี้ต้องคิดร่วมกับขนาดของแกนเพอร์ริเดียมและขนาดของขดลวดผลที่ได้คูณด้วย 1012 จะได้หน่วยกำลังต่อ millisecond พูดง่าย ๆ มันจะผลิตพลังงานไปเรื่อยๆ ไม่มีวันหยุด จนกว่าแกนจะพัง