เราเคยเห็นโพสนี้ใน facebook หลายครั้ง
ในโลกเรามีที่มาที่ไปเสมอ ไม่ได้เกิดขึ้นมาลอยๆ ซึ่งไปอ่านดูได้ที่อ้างอิง แต่ก็อยากจะเล่าเพราะสนุกดี
ข้อมูลส่วนใหญ่เราก็เอามาจากจิตวิทยาวิวัฒนาการและประวัติศาสตร์มาอธิบายเรื่องแบบนี้
น่าจะเกิด 2 สาเหตุ
1.สมัยก่อนไม่มีถุงยางและยาคุม อาจจะทำให้ผู้หญิงเลือกมากกว่าผู้ชาย ถ้าเลือกผิดชีวิตเปลี่ยนในทางวิวัฒนาการ ถูกผู้ชายทิ้งได้เพระเขาไม่รู้ว่าลูกของใคร บทความชัชพล เกียรติขจรธาดา
2.วัฒนธรรมยุควิกตอเรีย ส่งผลต่อเรา มองในยุคอยุธยา(ศิลปวัฒนธรรม silpa-mag) ผู้หญิงไม่ได้แคร์ผู้ชายมากขนาดนั้น ไม่ดีก็เปลี่ยนคนใหม่ ขายบริการเป็นเรื่องปกติ
ยุควิกตอเรียมองว่าผู้หญิงไม่ดีคือคิดเรื่อง sex ก่อนแต่งงานเป็นบาป โสเภณีไม่ดี ผู้หญิงสำ เด็กยุ่งเรื่องเพศทำให้ร่างกายไม่แข็งแรง
ทำให้เกิดการเรียกร้องเฟมินิสต์(social purity movement) อยู่ในกลุ่ม sex negative feminism ให้ผู้ชายถือพรหมจรรย์เหมือนผู้หญิงทำให้มีการต่อต้านอาชีพค้าประเวณี ผู้หญิงเสียหายเกิดจากการกระทำของผู้ชาย
บทความ age of consent จาก wikipedia มีการเรียกร้องปรับอายุเด็กเรื่องเพศ 13 เป็น 16 ปีใน อังกฤษ 18 ปี สหรัฐอเมริกา สาเหตุหลักเกิดจากการหลอกเด็กไปค้าประเวณีแบบเขาไม่รู้เรื่อง
แต่ก็ยังมีความเชื่อเฟมินิสต์อีกกลุ่มมองว่า sex positive feminism ก็มองว่าถ้าผู้ชายคิดเรื่องเพศได้ ผู้หญิงต้องคิดเรื่องเพศได้เช่นกัน แค่ฉันยินยอมและป้องกันก็พอ วัยรุ่นมีได้นะ แต่ป้องกันก็พอแล้ว
ทำให้ sex negative feminism กับ sex positive feminism เถียงกันไม่เลิกในยุคนั้น แต่สังคมตัดสินไป sex negative ทำให้เกิดกฏหมาย mann act ผุดขึ้นมา ซึ่งในปัจจุบัน ถูกบังคับเป็นกฏหมายสากลผ่านสหประชาชาติ ทำให้เกิดค่านิยมในปัจจุบัน การค้าประเวณีผิดกฏหมาย ผู้หญิงเสียหาย รักงวนสงวนตัว ผู้หญิงสำ เรื่องเพศเด็กต่ำกว่า 18 ยุ่งเรื่องเพศเกิดปัญหาสังคม(แต่ความเป็นจริงมี sex แบบไม่ป้องกันหรือถูกหลอกเกี่ยวกับทางเพศโดยที่เด็กไม่เต็มใจ)
อ้างอิง
https://www.brandthink.me/content/sex-in-victoria-era
https://www.silpa-mag.com/culture/article_102341
https://thestructure.live/ห้ามค้าประเวณีในไทย-ไม่ได้เริ่มจากพุทธศาสนา/
https://en.wikipedia.org/wiki/Social_purity_movement
https://en.wikipedia.org/wiki/Age_of_consent
https://en.wikipedia.org/wiki/Sex-positive_feminism
https://anthropology-concepts.sac.or.th/articles/11
ผู้ชายมี sex โดยที่ไม่ได้รัก ซึ่งแตกต่างจากผู้หญิง
ในโลกเรามีที่มาที่ไปเสมอ ไม่ได้เกิดขึ้นมาลอยๆ ซึ่งไปอ่านดูได้ที่อ้างอิง แต่ก็อยากจะเล่าเพราะสนุกดี
ข้อมูลส่วนใหญ่เราก็เอามาจากจิตวิทยาวิวัฒนาการและประวัติศาสตร์มาอธิบายเรื่องแบบนี้
น่าจะเกิด 2 สาเหตุ
1.สมัยก่อนไม่มีถุงยางและยาคุม อาจจะทำให้ผู้หญิงเลือกมากกว่าผู้ชาย ถ้าเลือกผิดชีวิตเปลี่ยนในทางวิวัฒนาการ ถูกผู้ชายทิ้งได้เพระเขาไม่รู้ว่าลูกของใคร บทความชัชพล เกียรติขจรธาดา
2.วัฒนธรรมยุควิกตอเรีย ส่งผลต่อเรา มองในยุคอยุธยา(ศิลปวัฒนธรรม silpa-mag) ผู้หญิงไม่ได้แคร์ผู้ชายมากขนาดนั้น ไม่ดีก็เปลี่ยนคนใหม่ ขายบริการเป็นเรื่องปกติ
ยุควิกตอเรียมองว่าผู้หญิงไม่ดีคือคิดเรื่อง sex ก่อนแต่งงานเป็นบาป โสเภณีไม่ดี ผู้หญิงสำ เด็กยุ่งเรื่องเพศทำให้ร่างกายไม่แข็งแรง
ทำให้เกิดการเรียกร้องเฟมินิสต์(social purity movement) อยู่ในกลุ่ม sex negative feminism ให้ผู้ชายถือพรหมจรรย์เหมือนผู้หญิงทำให้มีการต่อต้านอาชีพค้าประเวณี ผู้หญิงเสียหายเกิดจากการกระทำของผู้ชาย
บทความ age of consent จาก wikipedia มีการเรียกร้องปรับอายุเด็กเรื่องเพศ 13 เป็น 16 ปีใน อังกฤษ 18 ปี สหรัฐอเมริกา สาเหตุหลักเกิดจากการหลอกเด็กไปค้าประเวณีแบบเขาไม่รู้เรื่อง
แต่ก็ยังมีความเชื่อเฟมินิสต์อีกกลุ่มมองว่า sex positive feminism ก็มองว่าถ้าผู้ชายคิดเรื่องเพศได้ ผู้หญิงต้องคิดเรื่องเพศได้เช่นกัน แค่ฉันยินยอมและป้องกันก็พอ วัยรุ่นมีได้นะ แต่ป้องกันก็พอแล้ว
ทำให้ sex negative feminism กับ sex positive feminism เถียงกันไม่เลิกในยุคนั้น แต่สังคมตัดสินไป sex negative ทำให้เกิดกฏหมาย mann act ผุดขึ้นมา ซึ่งในปัจจุบัน ถูกบังคับเป็นกฏหมายสากลผ่านสหประชาชาติ ทำให้เกิดค่านิยมในปัจจุบัน การค้าประเวณีผิดกฏหมาย ผู้หญิงเสียหาย รักงวนสงวนตัว ผู้หญิงสำ เรื่องเพศเด็กต่ำกว่า 18 ยุ่งเรื่องเพศเกิดปัญหาสังคม(แต่ความเป็นจริงมี sex แบบไม่ป้องกันหรือถูกหลอกเกี่ยวกับทางเพศโดยที่เด็กไม่เต็มใจ)
อ้างอิง
https://www.brandthink.me/content/sex-in-victoria-era
https://www.silpa-mag.com/culture/article_102341
https://thestructure.live/ห้ามค้าประเวณีในไทย-ไม่ได้เริ่มจากพุทธศาสนา/
https://en.wikipedia.org/wiki/Social_purity_movement
https://en.wikipedia.org/wiki/Age_of_consent
https://en.wikipedia.org/wiki/Sex-positive_feminism
https://anthropology-concepts.sac.or.th/articles/11