มีโอกาสได้ฟัง อาจารย์ "ปรเมศวร์ อินทรชุมนุม: 'ดิไอคอน' ผิดฉ้อโกง ไม่ใช่แชร์ลูกโซ่ 18 บอส โดนโทษเท่าหมด"
ช่อง Youtube คุณจอมขวัญ (Jomquan) โพสต์เมื่อ 19 ตุลาคม 2567 พอสรุปได้ดังนี้
ไม่เข้าข่ายแชร์ลูกโซ่ เพราะแชร์ลูกโซ่ คือ financial investment เข้าไปมีส่วนร่วมแค่ตัวเงิน
ผู้ได้เงินจะเอาเงินไปปล่อยกู้ หรือ ผลิตสินค้าขาย ก็เป็นเรื่องของผู้ได้เงิน
ส่วน direct marketing, direct sale เข้าไปมีส่วนร่วมด้วยแรง เช่น งานโปรโมท งานขายสินค้า
มีตัวสินค้ามาเกี่ยวข้อง โดยให้สมัครเป็น ตัวแทนโปรโมท ตัวแทนขาย ของบริษัท
ส่วนที่ผิด กม.
1.
นำเข้าข้อมูลเท็จสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ให้ดาราที่มีชื่อเสียงประกาศตำแหน่งบริหาร ซึ่งจูงใจให้คนทั่วไปอยากร่วมงาน
ตามสัญญาเป็นพรีเซนเตอร์ แต่ในทางปฎิบัติ มีรายได้จากยอดขายและมีตำแหน่งบริหาร
นำเสนอคนเป็นหมอ แต่ไม่มีวุฒิตรงสาขานั้น
ถือว่า สุ่มเสี่ยงเป็นภัยต่อสุขภาพประชาชนได้ หากเชื่อถือ
2.
ดำเนินธุรกิจผิดกรอบโมเดลธุรกิจที่จดทะเบียน
ที่จดทะเบียนไว้คือเป็นบริษัทปกติที่ทำการตลาดแบบตรง (marketing sale)
ในทางปฏิบัติ วิธีการทำงานเป็นแบบขายตรง ( direct sale )
ฝึกผู้สมัครเป็นตัวแทน ด้านการพูดหน้ากล้อง ให้เป็นผู้ขายเอง
โดยซื้อสินค้าไปจากบริษัทไป ไม่ใช่แค่ฝึกให้เป็น นักการตลาด/ทำคอนเทนเกี่ยวกับสินค้า
ในประกาศ ให้ทำแค่ dropship ตัวแทนขายปลีก ตัวแทนขายส่ง น่าจะทำได้ ไม่ผิด กม.
แต่ไม่ควรให้
หาคนเข้าทีม สร้างระบบสมาชิกแบบขายตรง แล้วตั้งรางวัลให้ผู้ที่หาคนมาเพิ่ม
ลองเช็คดูตามประกาศอิไอค่อน ให้คนทั่วไปสมัครได้ ดังนี้
1. ตัวแทนแบบขายปลีก –
ไม่น่าผิด
2. ตัวแทนแบบขายส่ง –
ไม่น่าผิด
3. หุ้นส่วนรายใหญ่ของบริษัท --
น่าจะผิด
ในประกาศกล่าวว่า
"เปรียบเสมือนท่านเป็นบริษัทเอง
สามารถ
แต่งตั้งตัวแทนจำหน่ายได้เอง เปิดบิล 500 ชิ้น" --- ให้อำนาจไปหาคนมาเพิ่ม
โดยหลักการตามประกาศ ดิไอค่อน ให้ตัวแทนทำงานในระบบดร็อบชิฟ
ตามข้อมูลที่เราค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับนิยามศัพท์ต่างๆ
“Dropship” ความหมายตามศัพท์คือ ผู้ขายไม่ต้องสั่งสินค้ามาตุนเอาไว้ก่อน แต่สามารถขายสินค้าออนไลน์ได้
ซึ่งผู้ขายจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับออร์เดอร์จากลูกค้า
แล้วประสานงานมายังบริษัทให้แพคแล้วจัดส่งไปยังลูกค้า
แต่ในทางปฏิบัติ ดิไอค่อน ให้ตัวแทน สั่งสินค้าไปเก็บไว้ เพื่อขาย ใช่หรือไม่ ?
เพราะในข่าว ผู้เสียหายกล่าวว่า ได้สินค้ามาไม่ครบ และสั่งไปจำนวนมาก ขายไม่ออก
ซึ่งคำสั่งให้สั่งสินค้าไปเก็บไว้นี้ จะอ้างว่ามาจาก แม่ข่าย หรือ หัวหน้าทีมขายบางคน
ทำเอง ก็ไม่น่าจะทุกกรณี เพราะบริษัท ก็ประกาศว่า ตัวแทนตามข้อ 3 หาลูกทีมได้ด้วย นั่นคือ ให้หาคนมา
นอกเหนือจากยอดขาย ยังให้ผลประโยชน์อื่นจากยอดขาย หรือไม่
ถ้ามีการสั่งสินค้าไปเก็บไว้ น่าจะเรียกว่าเป็น dealer คือ ซื้อสินค้าไปขายต่อ แบบสั่งซื้อรถจากโรงงานไปขายต่อ
สมมุติ ดิไอคอนเสนอให้คุณหาตัวแทนจำหน่าย ถ้าหาได้ 1 ราย จะได้รับเงิน 20,000 บาท
นั่นคือวิธีการแบบขายตรงหรือเปล่า ? เน้นการหาตัวแทนขายเพิ่ม แล้วสอนลูกทีมทำงาน ดูแลลูกทีม
แบบตัวแทนประกันสร้างรายได้จากการส่งลูกทีมไปขาย ซึ่งแนวนี้ ไม่ใช่ direct marketing ตามที่บริษัทจดทะเบียนไว้
Agent -- คือ ผู้ขายในนามบริษัท ปกป้องภาพลักษณ์ ผลประโยชน์ให้บริษัท เช่น ขายประกัน ธุรกิจแอมเวย์ นายหน้าขายอสังหาฯ
มีรายได้เป็นส่วนแบ่งจากยอดขาย ขายได้มาก ก็รายได้มาก
Dealer-- คือ ผู้ซื้อในราคาโรงงาน แล้วนำไปขายต่อ โดยลงทุนในกระบวนการจัดการขายอย่างชัดเจน เช่น เปิดโชว์รูมรถยี่ห้อหนึ่ง
มีรายได้เป็นส่วนต่างระหว่างราคาซื้อจากโรงงาน กับ ราคาขายไปสู่ลูกค้า
Broker -- คือ ผู้อำนวยความสะดวก เป็นตัวกลาง ไม่เข้าข้างฝ่ายใด แต่ทำให้การซื้อขายสะดวกคล่องตัว ลดภาระของทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
เช่น stock broker อำนวยความสะดวกในการซื้อขายหุ้น มีรายได้เป็นค่าธรรมเนียมเมื่อมีการซื้อขาย
ความเห็นของเจ้าของกระทู้
ดูเหมือนการใช้คำศัพท์ของบริษัท จะสับสน
1. ใส่ตำแหน่งบริหารในสื่อประชาสัมพันธ์ แต่ดาราบอกว่าเป็นพรีเซนเตอร์
2. จดทะเบียนว่าเป็นการตลาดแบบตรง (direct marketing) -- สร้างนักการตลาด
แต่ในทางปฏิบัติ คือ ขายตรง (direct sale) -- สร้างนักขาย และให้ค่าตอบแทนหากหาคนขายมาเพิ่มได้
3. ในประกาศ ใช้คำว่า dropship แต่ในทางปฏิบัติ คือ หา agents
4. การชดเชย ไม่ชัดเจน หากระบุเงื่อนไขไว้แต่แรก บริษัทอาจไม่ต้องจ่ายเลยก็ได้
บอสพอล คล้ายยังสับสนระหว่าง ค่าชดเชยกับค่าเยียวยา และการตั้งกติกาต่อตัวแทน
เพื่อให้การคุมคนจำนวนมาก มีทิศทาง
นี่คือ ราคาที่ต้องจ่ายภายหลัง หากไม่ยอมจ้างเหล่าที่ปรึกษา
ด้านองค์ความรู้ไว้ใกล้ตัว
กระบวนการในภาคปฏิบัติ คาดว่าเหล่าบอส ไม่ได้มาคุมงานเชิงลึก
แต่เน้นกลยุทธ์การพรีเซนต์ การสร้างแรงบันดาลใจ
เกิดช่องว่างให้การบริหารสต็อกผิดพลาด ระบบการรับเรื่องร้องเรียนไม่เพียงพอ
ผู้บริหารไม่สื่อสารแบบฟันธง ว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ ในกรอบโมเดลธุรกิจที่จดทะเบียน
ทำให้กระบวนการในภาคปฏิบัติบิดเบือน การคุมคนหลักพัน ให้ทำงานตามเป้าหมาย
แบบถูก กม. ต้องสื่อสารอย่างชัดเจน
วิธีการใช้ดารา ที่เกินเส้น เป็นแบบ สมยอม หรือ จำยอม
เช่น จ้างเขาแค่พรีเซนเต้อร์ แต่ใส่ตำแหน่งบริหารในสื่อโฆษณาด้วย
หรือ เป็นการใช้ภาพและชื่อเสียงของบุคคลที่มีชื่อเสียงโดยพลการ เพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ
โดยไม่ขออนุญาตหรือตกลงกันอย่างแน่ชัด ก่อนประชาสัมพันธ์สู่สังคม
ดารามีรายได้จาก
ยอดขาย ไม่ใช่ค่าจ้างพรีเซนเต้อร์
เมื่อได้รายได้เป็นยอดขาย จึงมีลักษณะคล้าย หัวหน้าทีมขาย ในธุรกิจขายตรง
ดาราจึงผิด ที่ร่วมกระทำธุรกิจที่ต่างจากรูปแบบที่จดทะเบียนไว้
หรือ อาจดีเฟนได้ว่า เป็นเพียงสัญญาจ้าง ที่ให้ค่าตอบแทนกันแบบนี้
ซึ่งอาจจะต้องใช้หลักฐานอื่นประกอบด้วย
ผลกระทบ คือ ผู้เสียหาย ที่เขาไม่ทราบว่า
ตกลงบริษัททำธุรกิจแนวไหนกันแน่ กำลังนำพาพวกเขาไปในทิศทางใด
ด้วยวิธีการใด จะได้รับค่าชดเชยหรือไม่ ด้วยเงื่อนไขใด
เพราะการใช้ศัพท์ ไม่ตรงกับที่ปฏิบัติจริง
นอกจากนี้ ต้องยอมรับว่า การให้ความรู้แก่สังคมในด้านการทำธุรกิจและ กม. นั้นน้อยจริงๆ
ทั้งที่รัฐสนับสนุนให้ทำธุรกิจ และอยากให้คนไทยทำสำเร็จเพื่อจะได้เก็บภาษี
แต่ประชาชน ขาดความรู้ ความเข้าใจ กม. ที่เกี่ยวข้อง
ยิ่งมีการจับเข้าคุกกันแบบนี้ ธุรกิจ ยิ่งกลายเป็นเรื่องน่ากลัว สำหรับสังคมไทย
ทั้งที่ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทย ณ ปัจจุบัน
ควรเปิดพื้นที่และให้โอกาสสอนความผิดพลาด การแก้ไข และการเรียนรู้
ทั้งหมดนี้ เราสรุปตามที่เข้าใจ หากใครมีข้อมูลหรือข้อวิเคราะห์เพิ่มเติม มาร่วมแชร์กัน
ชวนวิเคราะห์ ดิไอคอนกรุ๊ป ส่วนใดผิด/ไม่ผิด...ร่วมสร้างสังคมที่ไม่ใช้อารมณ์ตัดสิน
ช่อง Youtube คุณจอมขวัญ (Jomquan) โพสต์เมื่อ 19 ตุลาคม 2567 พอสรุปได้ดังนี้
ไม่เข้าข่ายแชร์ลูกโซ่ เพราะแชร์ลูกโซ่ คือ financial investment เข้าไปมีส่วนร่วมแค่ตัวเงิน
ผู้ได้เงินจะเอาเงินไปปล่อยกู้ หรือ ผลิตสินค้าขาย ก็เป็นเรื่องของผู้ได้เงิน
ส่วน direct marketing, direct sale เข้าไปมีส่วนร่วมด้วยแรง เช่น งานโปรโมท งานขายสินค้า
มีตัวสินค้ามาเกี่ยวข้อง โดยให้สมัครเป็น ตัวแทนโปรโมท ตัวแทนขาย ของบริษัท
ส่วนที่ผิด กม.
1. นำเข้าข้อมูลเท็จสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ให้ดาราที่มีชื่อเสียงประกาศตำแหน่งบริหาร ซึ่งจูงใจให้คนทั่วไปอยากร่วมงาน
ตามสัญญาเป็นพรีเซนเตอร์ แต่ในทางปฎิบัติ มีรายได้จากยอดขายและมีตำแหน่งบริหาร
นำเสนอคนเป็นหมอ แต่ไม่มีวุฒิตรงสาขานั้น
ถือว่า สุ่มเสี่ยงเป็นภัยต่อสุขภาพประชาชนได้ หากเชื่อถือ
2. ดำเนินธุรกิจผิดกรอบโมเดลธุรกิจที่จดทะเบียน
ที่จดทะเบียนไว้คือเป็นบริษัทปกติที่ทำการตลาดแบบตรง (marketing sale)
ในทางปฏิบัติ วิธีการทำงานเป็นแบบขายตรง ( direct sale )
ฝึกผู้สมัครเป็นตัวแทน ด้านการพูดหน้ากล้อง ให้เป็นผู้ขายเอง
โดยซื้อสินค้าไปจากบริษัทไป ไม่ใช่แค่ฝึกให้เป็น นักการตลาด/ทำคอนเทนเกี่ยวกับสินค้า
ในประกาศ ให้ทำแค่ dropship ตัวแทนขายปลีก ตัวแทนขายส่ง น่าจะทำได้ ไม่ผิด กม.
แต่ไม่ควรให้ หาคนเข้าทีม สร้างระบบสมาชิกแบบขายตรง แล้วตั้งรางวัลให้ผู้ที่หาคนมาเพิ่ม
ลองเช็คดูตามประกาศอิไอค่อน ให้คนทั่วไปสมัครได้ ดังนี้
1. ตัวแทนแบบขายปลีก –ไม่น่าผิด
2. ตัวแทนแบบขายส่ง – ไม่น่าผิด
3. หุ้นส่วนรายใหญ่ของบริษัท -- น่าจะผิด
ในประกาศกล่าวว่า
"เปรียบเสมือนท่านเป็นบริษัทเอง
สามารถแต่งตั้งตัวแทนจำหน่ายได้เอง เปิดบิล 500 ชิ้น" --- ให้อำนาจไปหาคนมาเพิ่ม
โดยหลักการตามประกาศ ดิไอค่อน ให้ตัวแทนทำงานในระบบดร็อบชิฟ
ตามข้อมูลที่เราค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับนิยามศัพท์ต่างๆ
“Dropship” ความหมายตามศัพท์คือ ผู้ขายไม่ต้องสั่งสินค้ามาตุนเอาไว้ก่อน แต่สามารถขายสินค้าออนไลน์ได้
ซึ่งผู้ขายจะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับออร์เดอร์จากลูกค้า
แล้วประสานงานมายังบริษัทให้แพคแล้วจัดส่งไปยังลูกค้า
แต่ในทางปฏิบัติ ดิไอค่อน ให้ตัวแทน สั่งสินค้าไปเก็บไว้ เพื่อขาย ใช่หรือไม่ ?
เพราะในข่าว ผู้เสียหายกล่าวว่า ได้สินค้ามาไม่ครบ และสั่งไปจำนวนมาก ขายไม่ออก
ซึ่งคำสั่งให้สั่งสินค้าไปเก็บไว้นี้ จะอ้างว่ามาจาก แม่ข่าย หรือ หัวหน้าทีมขายบางคน
ทำเอง ก็ไม่น่าจะทุกกรณี เพราะบริษัท ก็ประกาศว่า ตัวแทนตามข้อ 3 หาลูกทีมได้ด้วย นั่นคือ ให้หาคนมา
นอกเหนือจากยอดขาย ยังให้ผลประโยชน์อื่นจากยอดขาย หรือไม่
ถ้ามีการสั่งสินค้าไปเก็บไว้ น่าจะเรียกว่าเป็น dealer คือ ซื้อสินค้าไปขายต่อ แบบสั่งซื้อรถจากโรงงานไปขายต่อ
สมมุติ ดิไอคอนเสนอให้คุณหาตัวแทนจำหน่าย ถ้าหาได้ 1 ราย จะได้รับเงิน 20,000 บาท
นั่นคือวิธีการแบบขายตรงหรือเปล่า ? เน้นการหาตัวแทนขายเพิ่ม แล้วสอนลูกทีมทำงาน ดูแลลูกทีม
แบบตัวแทนประกันสร้างรายได้จากการส่งลูกทีมไปขาย ซึ่งแนวนี้ ไม่ใช่ direct marketing ตามที่บริษัทจดทะเบียนไว้
Agent -- คือ ผู้ขายในนามบริษัท ปกป้องภาพลักษณ์ ผลประโยชน์ให้บริษัท เช่น ขายประกัน ธุรกิจแอมเวย์ นายหน้าขายอสังหาฯ
มีรายได้เป็นส่วนแบ่งจากยอดขาย ขายได้มาก ก็รายได้มาก
Dealer-- คือ ผู้ซื้อในราคาโรงงาน แล้วนำไปขายต่อ โดยลงทุนในกระบวนการจัดการขายอย่างชัดเจน เช่น เปิดโชว์รูมรถยี่ห้อหนึ่ง
มีรายได้เป็นส่วนต่างระหว่างราคาซื้อจากโรงงาน กับ ราคาขายไปสู่ลูกค้า
Broker -- คือ ผู้อำนวยความสะดวก เป็นตัวกลาง ไม่เข้าข้างฝ่ายใด แต่ทำให้การซื้อขายสะดวกคล่องตัว ลดภาระของทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
เช่น stock broker อำนวยความสะดวกในการซื้อขายหุ้น มีรายได้เป็นค่าธรรมเนียมเมื่อมีการซื้อขาย
ความเห็นของเจ้าของกระทู้
ดูเหมือนการใช้คำศัพท์ของบริษัท จะสับสน
1. ใส่ตำแหน่งบริหารในสื่อประชาสัมพันธ์ แต่ดาราบอกว่าเป็นพรีเซนเตอร์
2. จดทะเบียนว่าเป็นการตลาดแบบตรง (direct marketing) -- สร้างนักการตลาด
แต่ในทางปฏิบัติ คือ ขายตรง (direct sale) -- สร้างนักขาย และให้ค่าตอบแทนหากหาคนขายมาเพิ่มได้
3. ในประกาศ ใช้คำว่า dropship แต่ในทางปฏิบัติ คือ หา agents
4. การชดเชย ไม่ชัดเจน หากระบุเงื่อนไขไว้แต่แรก บริษัทอาจไม่ต้องจ่ายเลยก็ได้
บอสพอล คล้ายยังสับสนระหว่าง ค่าชดเชยกับค่าเยียวยา และการตั้งกติกาต่อตัวแทน
เพื่อให้การคุมคนจำนวนมาก มีทิศทาง
นี่คือ ราคาที่ต้องจ่ายภายหลัง หากไม่ยอมจ้างเหล่าที่ปรึกษา
ด้านองค์ความรู้ไว้ใกล้ตัว
กระบวนการในภาคปฏิบัติ คาดว่าเหล่าบอส ไม่ได้มาคุมงานเชิงลึก
แต่เน้นกลยุทธ์การพรีเซนต์ การสร้างแรงบันดาลใจ
เกิดช่องว่างให้การบริหารสต็อกผิดพลาด ระบบการรับเรื่องร้องเรียนไม่เพียงพอ
ผู้บริหารไม่สื่อสารแบบฟันธง ว่าอะไรทำได้ อะไรทำไม่ได้ ในกรอบโมเดลธุรกิจที่จดทะเบียน
ทำให้กระบวนการในภาคปฏิบัติบิดเบือน การคุมคนหลักพัน ให้ทำงานตามเป้าหมาย
แบบถูก กม. ต้องสื่อสารอย่างชัดเจน
วิธีการใช้ดารา ที่เกินเส้น เป็นแบบ สมยอม หรือ จำยอม
เช่น จ้างเขาแค่พรีเซนเต้อร์ แต่ใส่ตำแหน่งบริหารในสื่อโฆษณาด้วย
หรือ เป็นการใช้ภาพและชื่อเสียงของบุคคลที่มีชื่อเสียงโดยพลการ เพื่อผลประโยชน์ทางธุรกิจ
โดยไม่ขออนุญาตหรือตกลงกันอย่างแน่ชัด ก่อนประชาสัมพันธ์สู่สังคม
ดารามีรายได้จาก ยอดขาย ไม่ใช่ค่าจ้างพรีเซนเต้อร์
เมื่อได้รายได้เป็นยอดขาย จึงมีลักษณะคล้าย หัวหน้าทีมขาย ในธุรกิจขายตรง
ดาราจึงผิด ที่ร่วมกระทำธุรกิจที่ต่างจากรูปแบบที่จดทะเบียนไว้
หรือ อาจดีเฟนได้ว่า เป็นเพียงสัญญาจ้าง ที่ให้ค่าตอบแทนกันแบบนี้
ซึ่งอาจจะต้องใช้หลักฐานอื่นประกอบด้วย
ผลกระทบ คือ ผู้เสียหาย ที่เขาไม่ทราบว่า
ตกลงบริษัททำธุรกิจแนวไหนกันแน่ กำลังนำพาพวกเขาไปในทิศทางใด
ด้วยวิธีการใด จะได้รับค่าชดเชยหรือไม่ ด้วยเงื่อนไขใด
เพราะการใช้ศัพท์ ไม่ตรงกับที่ปฏิบัติจริง
นอกจากนี้ ต้องยอมรับว่า การให้ความรู้แก่สังคมในด้านการทำธุรกิจและ กม. นั้นน้อยจริงๆ
ทั้งที่รัฐสนับสนุนให้ทำธุรกิจ และอยากให้คนไทยทำสำเร็จเพื่อจะได้เก็บภาษี
แต่ประชาชน ขาดความรู้ ความเข้าใจ กม. ที่เกี่ยวข้อง
ยิ่งมีการจับเข้าคุกกันแบบนี้ ธุรกิจ ยิ่งกลายเป็นเรื่องน่ากลัว สำหรับสังคมไทย
ทั้งที่ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไทย ณ ปัจจุบัน
ควรเปิดพื้นที่และให้โอกาสสอนความผิดพลาด การแก้ไข และการเรียนรู้
ทั้งหมดนี้ เราสรุปตามที่เข้าใจ หากใครมีข้อมูลหรือข้อวิเคราะห์เพิ่มเติม มาร่วมแชร์กัน