สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
กรุงเทพ ไม่ได้ตั้งอยู่แนวรอยเลื่อน ไม่เคยมีประสบการณ์แผ่นดินไหวรุนแรง มาก่อน
ถ้าสักวันเกิด ผมเองก็นึกภาพไม่ออก เพราะว่าเป็นเมืองหลวงที่เติบโตแบบไร้ทิศทาง
แค่พายุฤดูร้อนแรงๆ ก็เห็นต้นไม้ล้ม ผ้าใบ ป้ายโฆษณาปลิวว่อนแล้ว
ถ้าเกิดแผ่นดินไหวแบบเดียวกับไต้หวัน ญี่ปุ่น ผมว่าความเสียหายขั้นรุนแรง
ถ้าสักวันเกิด ผมเองก็นึกภาพไม่ออก เพราะว่าเป็นเมืองหลวงที่เติบโตแบบไร้ทิศทาง
แค่พายุฤดูร้อนแรงๆ ก็เห็นต้นไม้ล้ม ผ้าใบ ป้ายโฆษณาปลิวว่อนแล้ว
ถ้าเกิดแผ่นดินไหวแบบเดียวกับไต้หวัน ญี่ปุ่น ผมว่าความเสียหายขั้นรุนแรง
สมาชิกหมายเลข 3700940 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 7541278 ถูกใจ, B16a ถูกใจ, Pale Horse ถูกใจ, วัยรุ่นผู้เคว้งคว้างกับชีวิต ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1170793 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 954890 ถูกใจ, poloyo ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1798034 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 8057617 ถูกใจ
▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼
แสดงความคิดเห็น
คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ
กระทู้ที่คุณอาจสนใจ
อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์
คอนโดมิเนียม
เศรษฐกิจ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
แผ่นดินไหว
ตามกฎหมายตึกสูงใน กทม. ทนแผ่นดินไหวได้ 7 ริกเตอร์ ถ้าตึกถล่มใครรับผิดชอบ
คำถามก็คือ กฎหมายบ้านเรามีกำหนดให้ตึกสูง ต้องทนแรงสั่นสะเทือนได้ 7 ริกเตอร์ แล้วถ้าหากเกิดแผ่นดินไหวขนาด 5-6 ริกเตอร์ แล้วถ้าตึกที่สร้างรองรับแผ่นดินไหวได้ 7 ริกเตอร์ เกิดถล่ม เหตุเพราะใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐาน ไม่ตรงสเปค หรือมีการลดสเปคเกิดขึ้น อยากสอบถามครับว่า ใครจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบ บริษัทที่สร้าง กทม. หรือหน่วยงานใด ที่เซ็นรับรองการสร้างตึก
ที่ถามแบบนี้เพราะ ถึงแม้ประเทศเราจะไม่เคยเกิดแผ่นดินไหวขนาดนั้นก็จริง แต่เราก็มีกฎหมายควบคุม เพื่อป้องกันเหตุการณ์ไม่เคยเกิด ซึ่งอาจจะเกิด แต่เอาจริงๆ ผมไม่ค่อยเชื่อมั่นในระบบการก่อสร้างในบ้านเราเท่าไร เทียบกับในญี่ปุ่น หรือประเทศอื่นๆ ที่เขามีความรับผิดชอบมากกว่า การก่อสร้างในบ้านเรา มีกฎหมายก็จริง แต่การก่อสร้างส่วนใหญ่มักจะลดสเปคบ้าง ลดต้นทุนอะไรบ้าง ทำให้ไม่ค่อยเชื่อมั่นในระบบการก่อสร้างในบ้านเรา
ก็อย่างที่ถามนั่นแหละครับ ถ้าตึกที่ถูกออกแบบเซ็นรับรองแผ่นดินไหวขนาด 7 ริกเตอร์ ถ้าเกิดแผ่นดินไหวที่ต่ำกว่า แต่ตึกถล่ม ใครจะต้องรับผิดชอบ คงไม่ใช่ประชาชนตาดำๆ ที่ซื้อคอนโด ซื้อตึกนะครับ