มาทำความรู้จักเกี่ยวกับแต่ละสาขาและแต่ละแขนงวิชาของคณะโลจิสติกส์ในมหาวิทยาลัยเรากันค่ะ
1.หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จะแบ่งออกเป็น 4 แขนงวิชา ดังนี้
1.1 แขนงการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี
การประกอบอาชีพ : ทำงานในสายงานที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทางทะเลและการปฏิบัติการภายในท่าเรือ งานด้านการนำเข้าส่งออก งานวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ด้านพาณิชยนาวี เป็นต้น
1.2 แขนงวิชาการจัดการโลจิสติกส์
การประกอบอาชีพ : ทำงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการบริการ การขนส่งและโลจิสติกส์ เจ้าของธุรกิจในสายงาน ได้แก่ ธุรกิจการขนส่งและการจัดเก็บสินค้า การผลิตรถยนต์และอุปกรณ์ต่างๆ ในตำแหน่งPurchasing management, Production planning, Transportation and Distribution management, Warehouse operation, Supply chain management เป็นต้น
1.3 แขนงวิชาการค้าและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ
การประกอบอาชีพ : ทำงานในสายงานที่เกี่ยวกับ Import & Export sales, Customs clearance, Customer service (Import/Export), Shipping and trucking, Oversea purchasing, Business development เป็นต้น
1.4 แขนงวิชาวิศวกรรมโซ่อุปทาน
การประกอบอาชีพ : เมื่อจบการศึกษาแล้วสามารถทำงานในตำแหน่ง นักวิเคราะห์โซ่อุปทาน (Supply chain analyst) วิศวกรจัดซื้อ ผู้จัดการจัดหา วิศวกรโซ่อุปทาน ผู้จัดการด้านชัพพลายเชน ภายในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม เริ่มตั้งแต่ผู้ผลิต จนถึงผู้บริโภคลำดับสุดท้าย รวมทั้ง การต่อยอดธุรกิจเดิม เป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี)
สาขานี้จะเรียนทั้งหมด 5 ปี *รับเฉพาะเพศชายเท่านั้น*
การประกอบอาชีพ : สามารถทำงานในสายอาชีพนักเดินเรือ บริษัทสายการเดินเรือ บริษัทแท่นขุดเจาะน้ำมันนอกชายฝั่ง (Offshore) อู่ต่อเรือ ท่าเรือเอกชนและท่าเรือของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงรับราชการในกรมเจ้าท่า และกรมอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องกับกิจการพาณิชยนาวี
คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
1.หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน จะแบ่งออกเป็น 4 แขนงวิชา ดังนี้
1.1 แขนงการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี
การประกอบอาชีพ : ทำงานในสายงานที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทางทะเลและการปฏิบัติการภายในท่าเรือ งานด้านการนำเข้าส่งออก งานวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ด้านพาณิชยนาวี เป็นต้น
1.2 แขนงวิชาการจัดการโลจิสติกส์
การประกอบอาชีพ : ทำงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมการบริการ การขนส่งและโลจิสติกส์ เจ้าของธุรกิจในสายงาน ได้แก่ ธุรกิจการขนส่งและการจัดเก็บสินค้า การผลิตรถยนต์และอุปกรณ์ต่างๆ ในตำแหน่งPurchasing management, Production planning, Transportation and Distribution management, Warehouse operation, Supply chain management เป็นต้น
1.3 แขนงวิชาการค้าและโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ
การประกอบอาชีพ : ทำงานในสายงานที่เกี่ยวกับ Import & Export sales, Customs clearance, Customer service (Import/Export), Shipping and trucking, Oversea purchasing, Business development เป็นต้น
1.4 แขนงวิชาวิศวกรรมโซ่อุปทาน
การประกอบอาชีพ : เมื่อจบการศึกษาแล้วสามารถทำงานในตำแหน่ง นักวิเคราะห์โซ่อุปทาน (Supply chain analyst) วิศวกรจัดซื้อ ผู้จัดการจัดหา วิศวกรโซ่อุปทาน ผู้จัดการด้านชัพพลายเชน ภายในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรม เริ่มตั้งแต่ผู้ผลิต จนถึงผู้บริโภคลำดับสุดท้าย รวมทั้ง การต่อยอดธุรกิจเดิม เป็นผู้ประกอบการสมัยใหม่
2. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี)
สาขานี้จะเรียนทั้งหมด 5 ปี *รับเฉพาะเพศชายเท่านั้น*
การประกอบอาชีพ : สามารถทำงานในสายอาชีพนักเดินเรือ บริษัทสายการเดินเรือ บริษัทแท่นขุดเจาะน้ำมันนอกชายฝั่ง (Offshore) อู่ต่อเรือ ท่าเรือเอกชนและท่าเรือของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงรับราชการในกรมเจ้าท่า และกรมอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องกับกิจการพาณิชยนาวี