ก่อนอื่น ใส่เกราะกันดราม่าก่อน ไม่ได้จะเหยียด ไม่ได้อะไรนะครับ
ผมเองก็คนไทย เติบโตมาในสังคมไทย
ตอนสมัยเรียน ผมก็มีกลุ่มเพื่อนสนิท ที่สนิทกันอยู่แค่นั้นเป็นหลักๆแหละครับ ไม่ได้ต่างอะไรหรอก
คือผมแค่อยากรู้ว่าเพราะอะไรถึงทำให้ต่างกันได้ขนาดนี้
ตอนนี้ผมทำงานโรงเรียนนานาชาติครับ
เป็นเจ้าหน้าที่คนไทยที่ซัพพอร์ตคนต่างชาติ ซึ่งก็ทำร่วมกันกับเจ้าหน้าที่คนไทยอีกไม่กี่คน เรียกว่ารุ่นพี่แล้วกันนะครับ เพราะผมอายุน้อยที่สุด
รุ่นพี่ เวลาพักกลางวัน ก็จะไปกินข้าวด้วยกัน ผมไปด้วยก็เห็นภาพสุดจะชินตาคือ กลุ่มของคนไทยที่เป็นกลุ่มเดิมๆ นั่งที่เดิมๆอีกต่างหากถ้ามันว่าง
สังคมไทยในพื้นที่แห่งวัฒนธรรมนานาชาติก็ยังเป็นอะไรแบบเดิม สนิทกับคนไหนก็อยู่กับแค่คนนั้น
สนิทอยู่แค่ในกลุ่มเล็กๆ ถ้าแผนกนึงมี 9 คน แล้วกลุ่มสนิทกันมีกลุ่ม 4 กับ กลุ่ม 5 ก็จะเห็นมาทีเป็นแพ็ค 4 แพ็ค 5 ไม่มีการข้ามฟาก
ผมมีสนิทค่อนข้างมากกับแผนกนึง ถ้าวันไหนผมลงไปคนเดียว เห็นเค้านั่งกินกัน ผมไปขอนั่งด้วย เค้าต้อนรับผมอย่างเป็นมิตร
แต่พอถ้าผมนั่งอยู่ก่อนแล้วคนเดียว พวกเค้าเดินมา ไม่มีใครคิดจะมานั่งด้วยเลยครับ เค้าก็ไปกับกลุ่มของเค้าเพราะสนิทกันมากกว่า
เค้า ที่ทำแบบนั้น ไม่ได้รังเกียจอะไรผมหรอกนะ แต่มันคือความเคยชินเค้านั้นแหละผมเข้าใจ
ในขณะที่ฝรั่ง ส่วนใหญ่ เน้นว่าส่วนใหญ่เลย คือจะมาคนเดียวครับ
ส่วนใหญ่ ก็ยังคงนั่งกันเป็นแผนก แต่เค้าไม่ได้มาด้วยกันครับ
หลายๆคน เริ่มจากการนั่งกินคนเดียว แล้วคนอื่นมาจอยน์
หลายที ก็กินคนเดียวจนหมดเลย
สำหรับฝรั่ง การกินข้าวคนเดียว ไปไหนคนเดียว มันค่อนข้างจะปกติมากครับ ทำไมเราถึงไม่สามารถมีมายเซทอะไรแบบนี้ได้บ้าง
แม้กระทั่งเด็กนักเรียน ทั้งเด็กไทย เด็กต่างชาติ
มีไม่น้อยที่ผมเห็นนั่งกินข้าวคนเดียว และมีคนอื่นมาจอยน์
บทสนทนาที่ผมได้ยิน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับการมาจอยน์ก็คือ
เอ้ย วันนี้กินไวจัง ขอนั่งด้วยนะ
มาคนนั่งมั้ย ไม่มี เคนั่งนี่นะจอง
อะไรแบบนี้ แล้วก็มีคนอื่นๆมาจอยน์กันจนเต็มโต๊ะ
หลังๆมา ผมไม่ไปกินข้าวกับรุ่นพี่แล้ว
เพราะชอบไปช้ากันเกินไป ผมหิว ผมก็ลงไปคนเดียว
แล้วผมก็ไปหาโต๊ะฝรั่งที่ยังไม่เต็ม (ส่วนใหญ่นั่งคนเดียวด้วยเพราะผมลงไปเร็ว)
ก็ทำความรู้จัก ทุกคนก็เฟรนด์ลี่และคุยดี พยายามคุยกัน คือเป็นการ break the ice ที่สนุกและ make my day เลยนะครับ
กลับมาที่คำถาม อะไรที่ทำให้มันต่างกันได้ขนาดนี้ หรอครับ
อะไรคือสิ่งที่ทำให้สังคมของคนไทย เป็นสังคมที่เอาแต่เกาะกลุ่มเดิมๆ สนิทกับแค่คนที่ตัวเองคุ้นเคยหรอครับ (แค่สงสัยครับ)
ผมเองก็คนไทย เติบโตมาในสังคมไทย
ตอนสมัยเรียน ผมก็มีกลุ่มเพื่อนสนิท ที่สนิทกันอยู่แค่นั้นเป็นหลักๆแหละครับ ไม่ได้ต่างอะไรหรอก
คือผมแค่อยากรู้ว่าเพราะอะไรถึงทำให้ต่างกันได้ขนาดนี้
ตอนนี้ผมทำงานโรงเรียนนานาชาติครับ
เป็นเจ้าหน้าที่คนไทยที่ซัพพอร์ตคนต่างชาติ ซึ่งก็ทำร่วมกันกับเจ้าหน้าที่คนไทยอีกไม่กี่คน เรียกว่ารุ่นพี่แล้วกันนะครับ เพราะผมอายุน้อยที่สุด
รุ่นพี่ เวลาพักกลางวัน ก็จะไปกินข้าวด้วยกัน ผมไปด้วยก็เห็นภาพสุดจะชินตาคือ กลุ่มของคนไทยที่เป็นกลุ่มเดิมๆ นั่งที่เดิมๆอีกต่างหากถ้ามันว่าง
สังคมไทยในพื้นที่แห่งวัฒนธรรมนานาชาติก็ยังเป็นอะไรแบบเดิม สนิทกับคนไหนก็อยู่กับแค่คนนั้น
สนิทอยู่แค่ในกลุ่มเล็กๆ ถ้าแผนกนึงมี 9 คน แล้วกลุ่มสนิทกันมีกลุ่ม 4 กับ กลุ่ม 5 ก็จะเห็นมาทีเป็นแพ็ค 4 แพ็ค 5 ไม่มีการข้ามฟาก
ผมมีสนิทค่อนข้างมากกับแผนกนึง ถ้าวันไหนผมลงไปคนเดียว เห็นเค้านั่งกินกัน ผมไปขอนั่งด้วย เค้าต้อนรับผมอย่างเป็นมิตร
แต่พอถ้าผมนั่งอยู่ก่อนแล้วคนเดียว พวกเค้าเดินมา ไม่มีใครคิดจะมานั่งด้วยเลยครับ เค้าก็ไปกับกลุ่มของเค้าเพราะสนิทกันมากกว่า
เค้า ที่ทำแบบนั้น ไม่ได้รังเกียจอะไรผมหรอกนะ แต่มันคือความเคยชินเค้านั้นแหละผมเข้าใจ
ในขณะที่ฝรั่ง ส่วนใหญ่ เน้นว่าส่วนใหญ่เลย คือจะมาคนเดียวครับ
ส่วนใหญ่ ก็ยังคงนั่งกันเป็นแผนก แต่เค้าไม่ได้มาด้วยกันครับ
หลายๆคน เริ่มจากการนั่งกินคนเดียว แล้วคนอื่นมาจอยน์
หลายที ก็กินคนเดียวจนหมดเลย
สำหรับฝรั่ง การกินข้าวคนเดียว ไปไหนคนเดียว มันค่อนข้างจะปกติมากครับ ทำไมเราถึงไม่สามารถมีมายเซทอะไรแบบนี้ได้บ้าง
แม้กระทั่งเด็กนักเรียน ทั้งเด็กไทย เด็กต่างชาติ
มีไม่น้อยที่ผมเห็นนั่งกินข้าวคนเดียว และมีคนอื่นมาจอยน์
บทสนทนาที่ผมได้ยิน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สำหรับการมาจอยน์ก็คือ
เอ้ย วันนี้กินไวจัง ขอนั่งด้วยนะ
มาคนนั่งมั้ย ไม่มี เคนั่งนี่นะจอง
อะไรแบบนี้ แล้วก็มีคนอื่นๆมาจอยน์กันจนเต็มโต๊ะ
หลังๆมา ผมไม่ไปกินข้าวกับรุ่นพี่แล้ว
เพราะชอบไปช้ากันเกินไป ผมหิว ผมก็ลงไปคนเดียว
แล้วผมก็ไปหาโต๊ะฝรั่งที่ยังไม่เต็ม (ส่วนใหญ่นั่งคนเดียวด้วยเพราะผมลงไปเร็ว)
ก็ทำความรู้จัก ทุกคนก็เฟรนด์ลี่และคุยดี พยายามคุยกัน คือเป็นการ break the ice ที่สนุกและ make my day เลยนะครับ
กลับมาที่คำถาม อะไรที่ทำให้มันต่างกันได้ขนาดนี้ หรอครับ