แอดมินพบว่าระบบนาฬิกายามเป็นอีกหนึ่งระบบที่มีเรียกหลายชื่อ เช่น Guard Tour, Guard Scan, เครื่องมอส, เครื่องสแกนมอส, เครื่องสแกนจุด ซึ่งทุกชื่อที่ลูกค้ากล่าวถึงล้วนเป็นชื่อที่ใช้เรียกอุปกรณ์ที่มีไว้ให้ รปภ. เดินตรวจตราตามจุดต่างๆ พร้อมบันทึกข้อมูลไว้ สำหรับเรื่องราวครั้งนี้แอดมินขอเรียกอุปกรณ์ชนิดนี้ว่า "
นาฬิกายาม" ปัจจุบันนาฬิกายามเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นเพราะเป็นระบบที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ดี ช่วยให้ผู้ดูแลสามารถเรียกดูรายงานการเดินตรวจตราของ รปภ. ได้ว่า รปภ. เดินตรวจจริงหรือไม่? เดินตรวจเวลาไหนบ้าง? การเดินตรวจเป็นไปตามรอบที่กำหนดไว้ไหม? จุดต่างๆ ที่เดินตรวจมีอะไรผิดปกติไหม? และใครคือผู้เดินตรวจครั้งนั้น
ลูกค้าหลายรายที่ไม่เข้าใจการทำงานของระบบนาฬิกายาม มีคำถามว่าระบบนี้จะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์อะไรบ้าง? ติดตั้ยากไหม? ขั้นตอนการเซ็ตระบบเป็นยังไง? เรามาทำความเข้าใจกันดังนี้
อุปกรณ์ในระบบนาฬิกายามได้แก่
1.
นาฬิกายาม : ลักษณะคล้ายๆ กระบอกไฟฉาย อุปกรณ์ชนิดนี้ทำหน้าที่เก็บบันทึกข้อมูลการเดินตรวจของ รปภ.
2. จุดตรวจ : ลักษณะเป็นเหรียญกลมสีขาว อุปกรณ์ชิ้นนี้จะถูกติดไว้ตามจุดต่างๆ ที่ รปภ. ต้องเดินตรวจตรา
3. บัตรประจำตัว รปภ. : ลักษณะเป็นบัตรสีขาวมีรูด้านบน สำหรับใช้บอกว่าใครคือคืนเดินตรวจ
4. บัตรบันทึกเหตุการณ์ : มีให้เลือกใช้ 2 แบบ จะเป็นบัตรสีขาวแบบบัตรประจำตัว รปภ. หรือจะเป็นบัตรแบบพวงกุญแจก็ได้ หน้าที่คือใช้บันทึกว่ามีเหตุอะไรบ้าง ณ จุดตรวจนั้นๆ เช่น ไฟดับ น้ำท่วม ประตูเสีย หรือใช้แค่บอกว่าปกติหรือไม่ปกติก็ได้ เป็นต้น
5. โปรแกรมจัดการ : เป็นโปรแกรมที่ใช้ร่วมกับระบบนาฬิกายาม หน้าที่ของโปรแกรมคือรวมรวบข้อมูลจากนาฬิกายามมาแสดงผลรายงานให้ทราบ ตรวจตอนไหน ตรวจจุดไหนบ้าง ใครเดินตรวจ ขาดตรวจหรือไม่? โปรแกรมจะบอกข้อมูลได้
tips : แนะนำ
นาฬิกายาม GT11 เป็นนาฬิกายามรุ่นใหม่ล่าสุดของทาง HIP
ในการเริ่มต้นใช้งานระบบให้ดำเนินการดังนี้
1. เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ นำจุดตรวจ, บัตร รปภ, บัตรเหตุการณ์ มาเขียนเลขไว้ด้านหน้า โดยให้แยกประเภทของบัตรออกเป็นกลุ่ม หนึ่งประเภทรันเลขหนึ่งชุด อ่านต่อได้ที่
https://www.charoenfingerscan.com/b/2071
หจก.เจริญเทค 559 โทร.089-106-2456 หรือไลน์ @charoentech
www.charoenfingerscan.com
www.charoentech.com
ระบบนาฬิกายามหรือเครื่องสแกนมอส
ลูกค้าหลายรายที่ไม่เข้าใจการทำงานของระบบนาฬิกายาม มีคำถามว่าระบบนี้จะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์อะไรบ้าง? ติดตั้ยากไหม? ขั้นตอนการเซ็ตระบบเป็นยังไง? เรามาทำความเข้าใจกันดังนี้
อุปกรณ์ในระบบนาฬิกายามได้แก่
1. นาฬิกายาม : ลักษณะคล้ายๆ กระบอกไฟฉาย อุปกรณ์ชนิดนี้ทำหน้าที่เก็บบันทึกข้อมูลการเดินตรวจของ รปภ.
2. จุดตรวจ : ลักษณะเป็นเหรียญกลมสีขาว อุปกรณ์ชิ้นนี้จะถูกติดไว้ตามจุดต่างๆ ที่ รปภ. ต้องเดินตรวจตรา
3. บัตรประจำตัว รปภ. : ลักษณะเป็นบัตรสีขาวมีรูด้านบน สำหรับใช้บอกว่าใครคือคืนเดินตรวจ
4. บัตรบันทึกเหตุการณ์ : มีให้เลือกใช้ 2 แบบ จะเป็นบัตรสีขาวแบบบัตรประจำตัว รปภ. หรือจะเป็นบัตรแบบพวงกุญแจก็ได้ หน้าที่คือใช้บันทึกว่ามีเหตุอะไรบ้าง ณ จุดตรวจนั้นๆ เช่น ไฟดับ น้ำท่วม ประตูเสีย หรือใช้แค่บอกว่าปกติหรือไม่ปกติก็ได้ เป็นต้น
5. โปรแกรมจัดการ : เป็นโปรแกรมที่ใช้ร่วมกับระบบนาฬิกายาม หน้าที่ของโปรแกรมคือรวมรวบข้อมูลจากนาฬิกายามมาแสดงผลรายงานให้ทราบ ตรวจตอนไหน ตรวจจุดไหนบ้าง ใครเดินตรวจ ขาดตรวจหรือไม่? โปรแกรมจะบอกข้อมูลได้
tips : แนะนำนาฬิกายาม GT11 เป็นนาฬิกายามรุ่นใหม่ล่าสุดของทาง HIP
ในการเริ่มต้นใช้งานระบบให้ดำเนินการดังนี้
1. เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ นำจุดตรวจ, บัตร รปภ, บัตรเหตุการณ์ มาเขียนเลขไว้ด้านหน้า โดยให้แยกประเภทของบัตรออกเป็นกลุ่ม หนึ่งประเภทรันเลขหนึ่งชุด อ่านต่อได้ที่ https://www.charoenfingerscan.com/b/2071
หจก.เจริญเทค 559 โทร.089-106-2456 หรือไลน์ @charoentech
www.charoenfingerscan.com
www.charoentech.com