การเจริญอธิจิต เพื่อบรรลุ สมาธิฌานทั้ง 4
ดู พุทโธวาท สมาธิภาวนา 4 ประเภท
1 สมาธิภาวนา เพื่อผล สุขในทิฏฐธรรม
2 สมาธิภาวนาเพื่อญาณทัสสนะอันเป็นทิพย์ (เจริญอาโลกสัญญา)
3 สมาธิภาวนาเพื่อความมีสติสัมปชัญญะ
(สติปัฏฐานสี้ฉลาด ทำสมาธิได้ ละนิวรณ์ได้ ทำนิมิตให้เกิดได้)
4 สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ (ดูพุทโธวาท เจริญสมาธินิมิต - ปัคคาหะนิมิต - อุเปกขานิมิต --
*อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๑๓๑๖
↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑
🧐 สัมมาสมาธิฌาน 4
ตาม อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
เนื่องกับ สมาธิภาวนา 4 ประเภท
↑↑↑↑↑↑↑↑
🧐ตรัสสรรเสริญ อานาปานสติสมาธิเป็นธรรมอันเอก
และเนื่องกับ อานาปานสติสูตร ที่ตรัสว่า สมบูรณ์ และพิศดาร
ดูพุทโธวาท ภิกขุสูตร
สมาธิอันสัมปยุตด้วย อานาปานสติ
🧠🧠🧠🧠
ข้อสังเกตุทาง วิชาการ
1
สำหรับภิกษุ ที่ได้ ฌาน อันเกิดจาก
สมาธิภาวนาเพื่อสุขในทิฏฐธรรม
มาก่อน บวชในธรรมวินัยนี้
เมื่อได้ดวงตาเห็นธรรม อริยมรรคองค์ที่ 1 แล้ว ก็ ให้ สัมปยุตด้วย อานาปานสติ
เพื่อเจริญ มรรคองค์ที่ 7 คือ สติปัฏฐานสี่
ต่อด้วย มรรคองค์ที่ 8
คือ สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะ เนื่องกับ สมาธินิมิต-- ปัคคาหนิมิต-- อุเปกขานิมิต (สติในจตุตถฌาน เนื่องกับ สมถะด้วยวิปัสสนาด้วย)
🧐🧐🧐🧐
การเข้าถึงฌาน คือ สมาธิที่มีพละ ของมนินทรีย์คือ มรรคจิต ขั้น โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ต้อง เนื่องกับ
สมาธิภาวนา 4 ประเภท
ต้องเนื่องกับ อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
และ เนื่องกับ “เสี้ยนหนาม 10“
ข้อ เสียง เป็นเสี้ยนหนามแก่ ปฐมฌาน
ข้อ วิตกวิจารเป็นเสี้ยนหนามแก่ทุติยฌาน
ข้อ ปีติเป็นเสี้ยนหนามแก่ตติยฌาน
ข้อ ลมหายใจออก (อัสสาส) ลมหายใจเข้า เป็นเสี้ยนหนามแก่ จตุตถฌาน
(สติที่มี พละสูงสุด แห่งมนินทรีย์นั้น คือ สติในสมาธิ ฌานที่ 4)
ตามพุทโธวาท
🧐
จะเข้าถึงฌานทั้งสี่ อย่างไร
👁️
สติกั้น ความเคยชินอย่างยิ่งจึงตามนอนเนื่องจิตเบา กามาวจรจิต
ตามพุทโธวาท สติกั้นกระแสเหล่านั้น★
👁️
ปัญญาปิดกั้น นิวรณ์ทั้ง 5 ได้
ด้วย “ดำรงสติเฉพาะหน้ามั่น แลอยู“
--- ปริมุขขัง สติ---
ผล คือ
สงัดจากกาม (กามาวจรจิต)
และอกุศลทั้งหลาย (อกุศลคือ ราคะในเสียงทุกๆ ชนิด รวมทั้ง เสียงคำชี้แนะใดๆ ด้วย ยังมี จิต อนุเสติ/
เพราะ ไม่ผ่าน กาลามสูตร ไม่ได้ ความอุ่นใน 4)
จึงบรรลุ สมาธิระดับปฐมฌาน
ตาม อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
และ ตาม
สมาธิภาวนา 4 ประเภท
↑↑↑↑↑↑
👽 หมายเหตุ
ในภาคปฏิบัติฯ
ฌานทั้ง 4 เป็น องค์รวม
ฌานที่ 1→ 2→ 3 แล้ว 4
กล่าวคือ
ยังไงต้องผ่านฌานที่ 1 ได้สมาธินิมิต
แล้ว วิตกวิจาร ไม่เป็นเสี้ยน ก็ลุฌานที่ 2
ปีติ(สุข) ไม่เป็นเสี้ยน ก็ลุฌานที่ 3
ในฌาน มีสติสัมปชัญญะ แลอยู่
เห็นสุข เกิด ตั้งอยู่ แล้ว มีสัญญาว่า จางคลายหายลง จะ พยายามต่อต้าน ก็ เห็น อนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจต้องการได้
จิต ไหลไป อุเบกขา แลอยู่ คือ ฌานที่ 4
เนื่องกับ สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อ
สติสัมปชัญญะฯ + สมาธิภาวนาเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ ซึ่ง อุปาทานขันธ์
รายละเอียดยกไว้
หมายความว่า
ภาวนาเช่นนั่น จะสอดคล้องกับ
พุทโธวาท ... ธรรมไหลไปสู่ธรรมโดยไม่ต้องเจตนา ...
คือ ตั้งจิตเจริญ ลุฌานที่ 1 ออกจากฌานที่ 1
จนชำนาญ แล้ว เจริญฌานที่ 2 โดย ผ่านฌานที่ 1 แล้ว ไหลไปสู่ฌานที่ 2 (3 4 ก็ทำนองนี้“
→แบบนี้ สำหรับ ก็ไม่ผิด ทำได้ สำหรับท่านที่มี อายตนะ อินทรีย์ฯ
แลกเปลี่ยนธรรมเป็นพุทธบูชา
👏
เจริญอานาปานสติสมาธิ คือ อธิจิตสิกขา
ดู พุทโธวาท สมาธิภาวนา 4 ประเภท
1 สมาธิภาวนา เพื่อผล สุขในทิฏฐธรรม
2 สมาธิภาวนาเพื่อญาณทัสสนะอันเป็นทิพย์ (เจริญอาโลกสัญญา)
3 สมาธิภาวนาเพื่อความมีสติสัมปชัญญะ
(สติปัฏฐานสี้ฉลาด ทำสมาธิได้ ละนิวรณ์ได้ ทำนิมิตให้เกิดได้)
4 สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ (ดูพุทโธวาท เจริญสมาธินิมิต - ปัคคาหะนิมิต - อุเปกขานิมิต --
*อริยสัจจากพระโอษฐ์ ๑๓๑๖
↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑↑
🧐 สัมมาสมาธิฌาน 4
ตาม อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
เนื่องกับ สมาธิภาวนา 4 ประเภท
↑↑↑↑↑↑↑↑
🧐ตรัสสรรเสริญ อานาปานสติสมาธิเป็นธรรมอันเอก
และเนื่องกับ อานาปานสติสูตร ที่ตรัสว่า สมบูรณ์ และพิศดาร
ดูพุทโธวาท ภิกขุสูตร
สมาธิอันสัมปยุตด้วย อานาปานสติ
🧠🧠🧠🧠
ข้อสังเกตุทาง วิชาการ
1
สำหรับภิกษุ ที่ได้ ฌาน อันเกิดจาก
สมาธิภาวนาเพื่อสุขในทิฏฐธรรม
มาก่อน บวชในธรรมวินัยนี้
เมื่อได้ดวงตาเห็นธรรม อริยมรรคองค์ที่ 1 แล้ว ก็ ให้ สัมปยุตด้วย อานาปานสติ
เพื่อเจริญ มรรคองค์ที่ 7 คือ สติปัฏฐานสี่
ต่อด้วย มรรคองค์ที่ 8
คือ สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อความสิ้นอาสวะ เนื่องกับ สมาธินิมิต-- ปัคคาหนิมิต-- อุเปกขานิมิต (สติในจตุตถฌาน เนื่องกับ สมถะด้วยวิปัสสนาด้วย)
🧐🧐🧐🧐
การเข้าถึงฌาน คือ สมาธิที่มีพละ ของมนินทรีย์คือ มรรคจิต ขั้น โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี ต้อง เนื่องกับ
สมาธิภาวนา 4 ประเภท
ต้องเนื่องกับ อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
และ เนื่องกับ “เสี้ยนหนาม 10“
ข้อ เสียง เป็นเสี้ยนหนามแก่ ปฐมฌาน
ข้อ วิตกวิจารเป็นเสี้ยนหนามแก่ทุติยฌาน
ข้อ ปีติเป็นเสี้ยนหนามแก่ตติยฌาน
ข้อ ลมหายใจออก (อัสสาส) ลมหายใจเข้า เป็นเสี้ยนหนามแก่ จตุตถฌาน
(สติที่มี พละสูงสุด แห่งมนินทรีย์นั้น คือ สติในสมาธิ ฌานที่ 4)
ตามพุทโธวาท
🧐
จะเข้าถึงฌานทั้งสี่ อย่างไร
👁️
สติกั้น ความเคยชินอย่างยิ่งจึงตามนอนเนื่องจิตเบา กามาวจรจิต
ตามพุทโธวาท สติกั้นกระแสเหล่านั้น★
👁️
ปัญญาปิดกั้น นิวรณ์ทั้ง 5 ได้
ด้วย “ดำรงสติเฉพาะหน้ามั่น แลอยู“
--- ปริมุขขัง สติ---
ผล คือ
สงัดจากกาม (กามาวจรจิต)
และอกุศลทั้งหลาย (อกุศลคือ ราคะในเสียงทุกๆ ชนิด รวมทั้ง เสียงคำชี้แนะใดๆ ด้วย ยังมี จิต อนุเสติ/
เพราะ ไม่ผ่าน กาลามสูตร ไม่ได้ ความอุ่นใน 4)
จึงบรรลุ สมาธิระดับปฐมฌาน
ตาม อุทเทสแห่งสัมมาสมาธิ
และ ตาม
สมาธิภาวนา 4 ประเภท
↑↑↑↑↑↑
👽 หมายเหตุ
ในภาคปฏิบัติฯ
ฌานทั้ง 4 เป็น องค์รวม
ฌานที่ 1→ 2→ 3 แล้ว 4
กล่าวคือ
ยังไงต้องผ่านฌานที่ 1 ได้สมาธินิมิต
แล้ว วิตกวิจาร ไม่เป็นเสี้ยน ก็ลุฌานที่ 2
ปีติ(สุข) ไม่เป็นเสี้ยน ก็ลุฌานที่ 3
ในฌาน มีสติสัมปชัญญะ แลอยู่
เห็นสุข เกิด ตั้งอยู่ แล้ว มีสัญญาว่า จางคลายหายลง จะ พยายามต่อต้าน ก็ เห็น อนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจต้องการได้
จิต ไหลไป อุเบกขา แลอยู่ คือ ฌานที่ 4
เนื่องกับ สมาธิภาวนา ที่เป็นไปเพื่อ
สติสัมปชัญญะฯ + สมาธิภาวนาเพื่อความสิ้นไปแห่งอาสวะ ซึ่ง อุปาทานขันธ์
รายละเอียดยกไว้
หมายความว่า
ภาวนาเช่นนั่น จะสอดคล้องกับ
พุทโธวาท ... ธรรมไหลไปสู่ธรรมโดยไม่ต้องเจตนา ...
คือ ตั้งจิตเจริญ ลุฌานที่ 1 ออกจากฌานที่ 1
จนชำนาญ แล้ว เจริญฌานที่ 2 โดย ผ่านฌานที่ 1 แล้ว ไหลไปสู่ฌานที่ 2 (3 4 ก็ทำนองนี้“
→แบบนี้ สำหรับ ก็ไม่ผิด ทำได้ สำหรับท่านที่มี อายตนะ อินทรีย์ฯ
แลกเปลี่ยนธรรมเป็นพุทธบูชา
👏