ทางดีๆมีไม่ชวน ชวนแต่ทางแบบขี่ๆไป อ้าวพื้นหายซะงั้น บอกเลยครับผมเน้นรอด ไม่เน้นทรง!!!
ก่อนอื่นเลยต้องขอขอบคุณทาง Honda ด้วยนะครับที่เตรียมกิจกรรมสนุกๆ และให้ผมได้ร่วมขับขี่
ไปกับ Honda CRF450RL ใหม่เอี่ยมที่พึ่งจะเปิดตัวไปสดๆร้อนๆเมื่ออาทิตย์ก่อน (24 กพ. 2021)
กับคำจำกัดความที่ว่า “ยาแก้ตึงมือ” ที่ทำให้เพื่อนๆชาวฝุ่นทั้งหลายต้องนึกขำอยู่ในใจอยู่ไม่มากก็น้อยบ้างแน่นอน
จริงๆแล้วรหัส CRF450 นั้นเริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงปี 2002 นั่นแหล่ะครับ กับ CRF450R
ที่จัดว่าเป็นรถแข่งในทางดินจาก Honda ก่อนที่จะทะยอยปรับปรุงมาทีละเล็กทีละน้อย
จากข้อมูลในสนามแข่งอย่างต่อเนื่องมาเรื่อยๆ
จนกระทั่งถึงใน Generation ที่ 5 ในปี 2017 ที่เรียกได้ว่าเริ่มพลิกโฉมการแข่งขันทางดิน
ให้กับ Honda กันเลยทีเดียว ซึ่งก็ยังคงปรับปรุงต่อ (เท่าที่เปิดเผย) คือ
* 2017 ปรับปรุงช่วงล่างใหม่
* 2018 สตาร์ทมือมาตรฐาน พร้อม ปรับหูยึดเครื่องยนต์เพื่อให้ความยืดหยุ่นของเฟรมทำงานได้ดีขึ้น
* 2019 ออกแบบสวิงอาร์มใหม่ พร้อม launch control (ระบบช่วยออกตัว)
ซึ่งรถใน GEN 5 นี้แหล่ะครับ ที่เริ่มสร้างชื่อขึ้นมาอย่างโดดเด่น
ด้วยการเริ่มต้นเก็บ Double Champ ในรายการ MXGP ได้เป็นคร้งแรกในรอบเกือบ 30 ปี (หลังจากปี 1992)
จากผลงานของ Tim Gajser กับ CRF450RW ในปี 2019 และ 2020
นอกจากนั้นในรายการที่ได้ชื่อว่า “โหดที่สุดในโลก” กับระยะทางกว่า 8,000 km
อย่าง Dakar Rally CRF450 Rally ก็คว้าชัยได้เป็นครั้งแรกในรอบ 31 ปี
(หลังจากปี 1989) ด้วยฝีมือของ “มือตึง” อย่าง Ricky Brabec ในปี 2020
ตามมาด้วย เพื่อนร่วมทีม Kevin Benavides ในปี 2021 สดๆร้อนๆ ในเดือนที่ผ่านมานี่เอง
ซึ่งทั้งสองรายการนั้นถูกจองกองกฐินผ้าป่ามาอย่างยาวนานต่อเนื่องจากรถเพื่อนๆค่ายอื่นมาโดยตลอดเป็นเวลานาน
จากความสำเร็จที่ทะยานขึ้นมาถึงจุดสูงสุดทำให้ในปีนี้ Honda ทำเซอร์ไพรซ์
กับเหล่าสายฝุ่นในบ้านเราด้วยการ ยกเอาตัวรถที่ได้รับความสำเร็จ
มาปรับแต่งให้สามารถ “จดทะเบียน” ในบ้านเราได้ ออกมาเป็น CRF450RL นำเข้าจากญี่ปุ่นทั้งคัน
ขายผ่านศูนย์ Honda BigWing กับราคาเปิดตัวที่ “สะดุ้ง” 339,000 บาท
ก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมของกระแสความแรงที่จับต้อง และเข้าถึงได้ง่ายในบ้านเราเนี่ยแหล่ะครับ
“มือตึง” มักจะหมายถึงเพื่อนๆสายดัน! ที่ดันคันเร่งกันจนตึง บิดกันจนสุด
หรือบิดกันจนแบบไม่มีผ่อน ที่ทำให้คราวนี้เราจะมาแก้อาการนั้นด้วย CRF450RL คันนี้
… ทำไมหน่ะเหรอ มาดูกันเลย
ยาวหล่ะมาขี่กันเลยดีกว่าแหม่ แบ่งเป็นข้อๆตามนี้เลย!
* รูปลักษณ์ทั่วไป
* รายละเอียดทางเทคนิค พร้อมเทียบ RL / R
* สัดส่วนตัวสั้นกับยาแรง
* การขับขี่สั้นๆที่ทำให้เข้าใจถึงคำว่า “ยาแก้มือตึง”
* เหมาะกับใคร
* การบำรุงรักษาหล่ะ
* สรุป (ข้อดี/ข้อสังเกต)
ถ้าเนื้อหานี้พอมีประโยชน์บ้างจิ้มบวก "+" เบาๆ ด้านล่างซ้าย
นับเป็นกำลังใจได้อย่างดีเลยหล่ะครับ
[SR] [PREVIEW] HONDA CRF450RL สกิลน้อย ตัวสั้น วนสั้นๆกับ “ยาแก้ตึงมือ”
ไปกับ Honda CRF450RL ใหม่เอี่ยมที่พึ่งจะเปิดตัวไปสดๆร้อนๆเมื่ออาทิตย์ก่อน (24 กพ. 2021)
กับคำจำกัดความที่ว่า “ยาแก้ตึงมือ” ที่ทำให้เพื่อนๆชาวฝุ่นทั้งหลายต้องนึกขำอยู่ในใจอยู่ไม่มากก็น้อยบ้างแน่นอน
จริงๆแล้วรหัส CRF450 นั้นเริ่มมีมาตั้งแต่ช่วงปี 2002 นั่นแหล่ะครับ กับ CRF450R
ที่จัดว่าเป็นรถแข่งในทางดินจาก Honda ก่อนที่จะทะยอยปรับปรุงมาทีละเล็กทีละน้อย
จากข้อมูลในสนามแข่งอย่างต่อเนื่องมาเรื่อยๆ
จนกระทั่งถึงใน Generation ที่ 5 ในปี 2017 ที่เรียกได้ว่าเริ่มพลิกโฉมการแข่งขันทางดิน
ให้กับ Honda กันเลยทีเดียว ซึ่งก็ยังคงปรับปรุงต่อ (เท่าที่เปิดเผย) คือ
* 2017 ปรับปรุงช่วงล่างใหม่
* 2018 สตาร์ทมือมาตรฐาน พร้อม ปรับหูยึดเครื่องยนต์เพื่อให้ความยืดหยุ่นของเฟรมทำงานได้ดีขึ้น
* 2019 ออกแบบสวิงอาร์มใหม่ พร้อม launch control (ระบบช่วยออกตัว)
ซึ่งรถใน GEN 5 นี้แหล่ะครับ ที่เริ่มสร้างชื่อขึ้นมาอย่างโดดเด่น
ด้วยการเริ่มต้นเก็บ Double Champ ในรายการ MXGP ได้เป็นคร้งแรกในรอบเกือบ 30 ปี (หลังจากปี 1992)
จากผลงานของ Tim Gajser กับ CRF450RW ในปี 2019 และ 2020
นอกจากนั้นในรายการที่ได้ชื่อว่า “โหดที่สุดในโลก” กับระยะทางกว่า 8,000 km
อย่าง Dakar Rally CRF450 Rally ก็คว้าชัยได้เป็นครั้งแรกในรอบ 31 ปี
(หลังจากปี 1989) ด้วยฝีมือของ “มือตึง” อย่าง Ricky Brabec ในปี 2020
ตามมาด้วย เพื่อนร่วมทีม Kevin Benavides ในปี 2021 สดๆร้อนๆ ในเดือนที่ผ่านมานี่เอง
กับเหล่าสายฝุ่นในบ้านเราด้วยการ ยกเอาตัวรถที่ได้รับความสำเร็จ
มาปรับแต่งให้สามารถ “จดทะเบียน” ในบ้านเราได้ ออกมาเป็น CRF450RL นำเข้าจากญี่ปุ่นทั้งคัน
ขายผ่านศูนย์ Honda BigWing กับราคาเปิดตัวที่ “สะดุ้ง” 339,000 บาท
ก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมของกระแสความแรงที่จับต้อง และเข้าถึงได้ง่ายในบ้านเราเนี่ยแหล่ะครับ
“มือตึง” มักจะหมายถึงเพื่อนๆสายดัน! ที่ดันคันเร่งกันจนตึง บิดกันจนสุด
หรือบิดกันจนแบบไม่มีผ่อน ที่ทำให้คราวนี้เราจะมาแก้อาการนั้นด้วย CRF450RL คันนี้
… ทำไมหน่ะเหรอ มาดูกันเลย
ยาวหล่ะมาขี่กันเลยดีกว่าแหม่ แบ่งเป็นข้อๆตามนี้เลย!
* รูปลักษณ์ทั่วไป
* รายละเอียดทางเทคนิค พร้อมเทียบ RL / R
* สัดส่วนตัวสั้นกับยาแรง
* การขับขี่สั้นๆที่ทำให้เข้าใจถึงคำว่า “ยาแก้มือตึง”
* เหมาะกับใคร
* การบำรุงรักษาหล่ะ
* สรุป (ข้อดี/ข้อสังเกต)
นับเป็นกำลังใจได้อย่างดีเลยหล่ะครับ
SR - Sponsored Review : กระทู้รีวิวนี้เป็นกระทู้ SR โดยที่เจ้าของกระทู้