1.กองทัพบกไทย คือ
กองทัพบกไทย (Royal Thai Army) ถือว่าเป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุด และยังมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย มีมีหน้าที่เตรียมกำลังทางบก และป้องกันราชอาณาจักรไทย
2.ประวัติ กองทัพบกไทย
กองทัพบกนั้นถือได้ว่ากำเนิดขึ้นพร้อมกับการก่อต้องชาติไทยเลยก็ว่าได้ โดยวิวัฒนาการขอกองทัพบกจะเริ่มตั้งแต่ชนเผ่าไทยได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานและรวมกลุ่มขึ้นเป็นนครรัฐเล็กๆ ในดินแดนของประเทศไทยปัจจุบันและบริเวณใกล้เคียง ทั้งยังมีการจัดกำลังกองทัพเพื่อทำสงครามกับชนชาติต่างๆที่เข้ามารุกราน จนกระทั่งได้ขยายอาณาเขตและก่อตั้งสถาปราอาณาจักรไทยขึ้นมา และได้มีการพัฒนาทางด้านการทหารมาตลอดอย่างต่อเนื่องโดยบอกเล่าออกไป 4 ช่วงสมัย ดังนี้
ช่วงสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800- 1981) เป็นช่วงที่อาณาเขตของไทยนั้นถูกแผ่กระจายออกไปอย่างกว่างขวาง โดยเฉพาะในช่วงสมัยของพ่อขุนรามคำแหง โดยท่านได้ทรงดูแลราษฎรอย่างใกล้ชิด เสมือนบิดาดูแลบัตร หากในยามปกตินั้นราษฎจะต่างประกอบอาชีพกันเป็นปกติ แต่เมื่อเกิดสงครามชายฉกรรจ์ทุกคนจะต้องมารับใช้ประเทศชาติโดยการเปิดนทหาร
ช่วงสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1983 – 2310) ในช่วงสมัยนี้นั้นได้มีการปรับปรุงด้านการควบคุมกองกำลังไพร่พล และยุทธิวิธีให้รัดกุมมากยิ้งขึ้น โดยได้ทำการแยกกิจกราทหารออกจากกิจการด้านพลเรือน และได้จัดตั้งกรมพระสุรัสวดีขึ้นมารับผิดชอบทำทะเบียนไพร่พล เพื่อช่วยให้สะดวกและรวดเร็วต่อการเรียกระดมพลทหาร หากเกิดศึกสงครามขึ้น โดยมีหลักเกณฑ์กำหนดให้ชายไทยทุกคนต้องเข้ามารายงานตัวเพื่อเป็นทหารปีละ 6 เดือน โดยในช่วงสมัยอยุธยานั้นมีสงครามที่สำคัญและเป็นจดจำกัน คือ “สงครามยุทธหัตถี” ซึ่งผู้ที่นำพาชาติไทยสู่ชัยชนะครั้งนั้นก็คือ พระนเรศวรมหาราช ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2135 และนี่จึงเป็นที่ของวันกองทัพบก ในช่วงเวลาต่อมา
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310 – 2325) ได้มีการปรับปรุงกิจการทหารหลายด้านด้วยกัน โดยเฉพาะในการจัดทำบัญชีไพร่พลให้รัดกุมมากยิ่งขึ้น และสามารถตรวจสอบจำนวนกำลังพลที่แน่นอนแม่นยำ ทั้งยังช่วยให้สะดวกแก่การควบคุมบังคับบัญชา โดยในช่วงเวลาเกิดสงครามในยุคสมัยกรุงธนบุรีได้มีการหล่อปืนใหญ่ขึ้นใช้เอง และยังจัดหาอาวุธปืนจากต่างประเทศนำเข้ามาใช้ในกองทัพ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน) เป็นช่วงที่ประวัติศาสตร์ที่มีการทำสงครามครั้งสำคัญ คือ สงครามเก่าทัพ ที่มีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนำพาชัยชนะข้าศึกที่มีจำนวนมากกว่ามาได้อย่างงดงาม นับตั้งแต่นั้นมาทางกองทัพบกก็ได้มีการพัฒนาตลอดเวลาจวบจนถึงปัจจุบัน
3.ภารกิจหลัก กองทัพบกไทย
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2503 มาตรา 14 กำหนดอำนาจและหน้าที่กระทรวงกลาโหมและหน้าที่ของกองทัพบกไว้ว่า “กองทัพบกมีหน้าที่เตรียมกำลังทางบก และป้องกันราชอาณาจักร มีผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ”
4.สื่อในความควบคุมของ กองทัพบกไทย
สื่อในความควบคุมของกองทัพบก จะมีทั้งหมด ดังต่อไปนี้
- สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก เครือข่ายทั่วประเทศ 127 สถานี
- สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ททบ.5)
- สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ค (TGN)
- โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.)
- บริษัท อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) (RTA Entertainment;ผู้ได้รับมอบหมายในการจัดการผังรายการและร่วมดำเนินกิจการจากสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก)
5.การจัดส่วนราชการ
กองทัพบก แบ่งส่วนราชการเป็น 7 ส่วนดังนี้
- ส่วนบัญชาการ
- ส่วนกำลังรบ
- ส่วนสนับสนุนการรบ
- ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ
- ส่วนภูมิภาค
- ส่วนการศึกษา
- ส่วนช่วยพัฒนาประเทศ
6.ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ
- กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) กองพลพัฒนาที่ 1 (พล.พัฒนา 1) ตั้งอยู่ที่ค่ายศรีสุริยวงศ์ ตำบลดอนตะโก อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) กองพลพัฒนาที่ 2 (พล.พัฒนา 2) ตั้งอยู่ที่ค่ายสุรธรรมพิทักษ์ ตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) กองพลพัฒนาที่ 3 (พล.พัฒนา 3) ตั้งอยู่ที่ค่ายสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ตำบลสมอแข อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) กองพลพัฒนาที่ 4 (พล.พัฒนา 4) ตั้งอยู่ที่ค่ายรัตนพล ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
7.ส่วนการศึกษา
- กรมยุทธศึกษาทหารบก (ยศ.ทบ.) ตั้งอยู่ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (รร.จปร.) ตั้งอยู่ถนนสุวรรณศร ตำบลพรหมณี อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
- วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (วพม.) ตั้งอยู่ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
- หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (นรด.) ตั้งอยู่ถนนเจริญกรุง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
- วิทยาลัยการทัพบก (วทบ.) ตั้งอยู่ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (รร.สธ.ทบ.) ตั้งอยู่ถนนพระรามที่ 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนนายสิบทหารบก (รร.นส.ทบ.) ตั้งอยู่ค่ายโยธินศึกษามหามงกุฎ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ศูนย์การทหารราบ (ศร.) ตั้งอยู่ค่ายธนะรัชต์ ตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ศูนย์การทหารม้า (ศม.) ตั้งอยู่ค่ายอดิศร ตำบลปากเพรียว อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
- ศูนย์การทหารปืนใหญ่ (ศป.) ตั้งอยู่ค่ายภูมิพล ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- ศูนย์สงครามพิเศษ (ศสพ.) ตั้งอยู่ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบุรี
8.ส่วนภูมิภาค
- กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1)
- มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11) ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
- มณฑลทหารบกที่ 12 (มทบ.12) ค่ายจักรพงศ์ อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 13 (มทบ.13) ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 14 (มทบ.14) ค่ายนวมินทราชินี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 15 (มทบ.15) ค่ายรามราชนิเวศน์ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 16 (มทบ.16) ค่ายภาณุรังษี อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 17 (มทบ.17) ค่ายสุรสีห์ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 18 (มทบ.18) ค่ายอดิศร อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 19 (มทบ.19) ค่ายสุรสิงหนาท อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
- มณฑลทหารบกที่ 110 (มทบ.110) ค่ายทองฑีฆายุ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
- กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2)
- มณฑลทหารบกที่ 21 (มทบ.21) ค่ายสุรนารี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- มณฑลทหารบกที่ 22 (มทบ.22) ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
- มณฑลทหารบกที่ 23 (มทบ.23) ค่ายศรีพัชรินทร อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
- มณฑลทหารบกที่ 24 (มทบ.24) ค่ายประจักษ์ศิลปาคม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
- มณฑลทหารบกที่ 25 (มทบ.25) ค่ายวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
- มณฑลทหารบกที่ 26 (มทบ.26) ค่ายสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
- มณฑลทหารบกที่ 27 (มทบ.27) ค่ายประเสริฐสงคราม อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด
- มณฑลทหารบกที่ 28 (มทบ.28) ค่ายศรีสองรัก อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
- มณฑลทหารบกที่ 29 (มทบ.29) ค่ายกฤษณ์สีวะรา อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
- มณฑลทหารบกที่ 210 (มทบ.210) ค่ายพระยอดเมืองขวาง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
- กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3)
- มณฑลทหารบกที่ 31 (มทบ.31) ค่ายจิรประวัติ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
- มณฑลทหารบกที่ 32 (มทบ.32) ค่ายสุรศักดิ์มนตรี อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
- มณฑลทหารบกที่ 33 (มทบ.33) ค่ายกาวิละ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
- มณฑลทหารบกที่ 34 (มทบ.34) ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- มณฑลทหารบกที่ 35 (มทบ.35) ค่ายพิชัยดาบหัก อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
- มณฑลทหารบกที่ 36 (มทบ.36) ค่ายพ่อขุนผาเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์
- มณฑลทหารบกที่ 37 (มทบ.37) ค่ายเม็งรายมหาราช อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
- มณฑลทหารบกที่ 38 (มทบ.38) ค่ายสุริยพงษ์ อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
- มณฑลทหารบกที่ 39 (มทบ.39) ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- มณฑลทหารบกที่ 310 (มทบ.310) ค่ายวชิรปราการ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
- กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4)
- มณฑลทหารบกที่ 41 (มทบ.41) ค่ายวชิราวุธ อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
- มณฑลทหารบกที่ 42 (มทบ.42) ค่ายเสนาณรงค์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
- มณฑลทหารบกที่ 43 (มทบ.43) ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- มณฑลทหารบกที่ 44 (มทบ.44) ค่ายเขตอุดมศักดิ์ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
- มณฑลทหารบกที่ 45 (มทบ.45) ค่ายวิภาวดีรังสิต อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- มณฑลทหารบกที่ 46 (มทบ.46) ค่ายอิงคยุทธบริหาร อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
9.ส่วนสนับสนุนการรบ
- กองพลทหารปืนใหญ่ (พล.ป.) ดูแลพื้นที่ทั่วประเทศไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ค่ายสิริกิติ์ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- กองพลทหารช่าง (พล.ช) ดูแลพื้นที่ทั่วประเทศไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ค่ายบุรฉัตร อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- หน่วยข่าวกรองทางทหาร (ขกท.)
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 1 (บชร.1) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคกลาง มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายพนัสบดีศรีอุทัย ตำบลเกาะจันทร์ อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 3 (บชร.3) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคเหนือ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ ตำบลอรัญญิก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (บชร.4) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคใต้ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อมูลเพิ่มเติม
https://nine100.com/a-total-of-20-army-stories/
รวม 20 เรื่อง กองทัพบกไทย
กองทัพบกไทย (Royal Thai Army) ถือว่าเป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุด และยังมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย มีมีหน้าที่เตรียมกำลังทางบก และป้องกันราชอาณาจักรไทย
2.ประวัติ กองทัพบกไทย
กองทัพบกนั้นถือได้ว่ากำเนิดขึ้นพร้อมกับการก่อต้องชาติไทยเลยก็ว่าได้ โดยวิวัฒนาการขอกองทัพบกจะเริ่มตั้งแต่ชนเผ่าไทยได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานและรวมกลุ่มขึ้นเป็นนครรัฐเล็กๆ ในดินแดนของประเทศไทยปัจจุบันและบริเวณใกล้เคียง ทั้งยังมีการจัดกำลังกองทัพเพื่อทำสงครามกับชนชาติต่างๆที่เข้ามารุกราน จนกระทั่งได้ขยายอาณาเขตและก่อตั้งสถาปราอาณาจักรไทยขึ้นมา และได้มีการพัฒนาทางด้านการทหารมาตลอดอย่างต่อเนื่องโดยบอกเล่าออกไป 4 ช่วงสมัย ดังนี้
ช่วงสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1800- 1981) เป็นช่วงที่อาณาเขตของไทยนั้นถูกแผ่กระจายออกไปอย่างกว่างขวาง โดยเฉพาะในช่วงสมัยของพ่อขุนรามคำแหง โดยท่านได้ทรงดูแลราษฎรอย่างใกล้ชิด เสมือนบิดาดูแลบัตร หากในยามปกตินั้นราษฎจะต่างประกอบอาชีพกันเป็นปกติ แต่เมื่อเกิดสงครามชายฉกรรจ์ทุกคนจะต้องมารับใช้ประเทศชาติโดยการเปิดนทหาร
ช่วงสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1983 – 2310) ในช่วงสมัยนี้นั้นได้มีการปรับปรุงด้านการควบคุมกองกำลังไพร่พล และยุทธิวิธีให้รัดกุมมากยิ้งขึ้น โดยได้ทำการแยกกิจกราทหารออกจากกิจการด้านพลเรือน และได้จัดตั้งกรมพระสุรัสวดีขึ้นมารับผิดชอบทำทะเบียนไพร่พล เพื่อช่วยให้สะดวกและรวดเร็วต่อการเรียกระดมพลทหาร หากเกิดศึกสงครามขึ้น โดยมีหลักเกณฑ์กำหนดให้ชายไทยทุกคนต้องเข้ามารายงานตัวเพื่อเป็นทหารปีละ 6 เดือน โดยในช่วงสมัยอยุธยานั้นมีสงครามที่สำคัญและเป็นจดจำกัน คือ “สงครามยุทธหัตถี” ซึ่งผู้ที่นำพาชาติไทยสู่ชัยชนะครั้งนั้นก็คือ พระนเรศวรมหาราช ในวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2135 และนี่จึงเป็นที่ของวันกองทัพบก ในช่วงเวลาต่อมา
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ. 2310 – 2325) ได้มีการปรับปรุงกิจการทหารหลายด้านด้วยกัน โดยเฉพาะในการจัดทำบัญชีไพร่พลให้รัดกุมมากยิ่งขึ้น และสามารถตรวจสอบจำนวนกำลังพลที่แน่นอนแม่นยำ ทั้งยังช่วยให้สะดวกแก่การควบคุมบังคับบัญชา โดยในช่วงเวลาเกิดสงครามในยุคสมัยกรุงธนบุรีได้มีการหล่อปืนใหญ่ขึ้นใช้เอง และยังจัดหาอาวุธปืนจากต่างประเทศนำเข้ามาใช้ในกองทัพ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน) เป็นช่วงที่ประวัติศาสตร์ที่มีการทำสงครามครั้งสำคัญ คือ สงครามเก่าทัพ ที่มีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชนำพาชัยชนะข้าศึกที่มีจำนวนมากกว่ามาได้อย่างงดงาม นับตั้งแต่นั้นมาทางกองทัพบกก็ได้มีการพัฒนาตลอดเวลาจวบจนถึงปัจจุบัน
3.ภารกิจหลัก กองทัพบกไทย
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2503 มาตรา 14 กำหนดอำนาจและหน้าที่กระทรวงกลาโหมและหน้าที่ของกองทัพบกไว้ว่า “กองทัพบกมีหน้าที่เตรียมกำลังทางบก และป้องกันราชอาณาจักร มีผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ”
4.สื่อในความควบคุมของ กองทัพบกไทย
สื่อในความควบคุมของกองทัพบก จะมีทั้งหมด ดังต่อไปนี้
- สถานีวิทยุกระจายเสียงกองทัพบก เครือข่ายทั่วประเทศ 127 สถานี
- สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ททบ.5)
- สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ค (TGN)
- โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ทรท.)
- บริษัท อาร์ทีเอ เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) (RTA Entertainment;ผู้ได้รับมอบหมายในการจัดการผังรายการและร่วมดำเนินกิจการจากสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก)
5.การจัดส่วนราชการ
กองทัพบก แบ่งส่วนราชการเป็น 7 ส่วนดังนี้
- ส่วนบัญชาการ
- ส่วนกำลังรบ
- ส่วนสนับสนุนการรบ
- ส่วนสนับสนุนการช่วยรบ
- ส่วนภูมิภาค
- ส่วนการศึกษา
- ส่วนช่วยพัฒนาประเทศ
6.ส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ
- กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1) กองพลพัฒนาที่ 1 (พล.พัฒนา 1) ตั้งอยู่ที่ค่ายศรีสุริยวงศ์ ตำบลดอนตะโก อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) กองพลพัฒนาที่ 2 (พล.พัฒนา 2) ตั้งอยู่ที่ค่ายสุรธรรมพิทักษ์ ตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3) กองพลพัฒนาที่ 3 (พล.พัฒนา 3) ตั้งอยู่ที่ค่ายสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ตำบลสมอแข อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4) กองพลพัฒนาที่ 4 (พล.พัฒนา 4) ตั้งอยู่ที่ค่ายรัตนพล ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
7.ส่วนการศึกษา
- กรมยุทธศึกษาทหารบก (ยศ.ทบ.) ตั้งอยู่ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (รร.จปร.) ตั้งอยู่ถนนสุวรรณศร ตำบลพรหมณี อำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก
- วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (วพม.) ตั้งอยู่ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
- หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน (นรด.) ตั้งอยู่ถนนเจริญกรุง แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
- วิทยาลัยการทัพบก (วทบ.) ตั้งอยู่ถนนเทอดดำริ แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนเสนาธิการทหารบก (รร.สธ.ทบ.) ตั้งอยู่ถนนพระรามที่ 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
- โรงเรียนนายสิบทหารบก (รร.นส.ทบ.) ตั้งอยู่ค่ายโยธินศึกษามหามงกุฎ ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ศูนย์การทหารราบ (ศร.) ตั้งอยู่ค่ายธนะรัชต์ ตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ศูนย์การทหารม้า (ศม.) ตั้งอยู่ค่ายอดิศร ตำบลปากเพรียว อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
- ศูนย์การทหารปืนใหญ่ (ศป.) ตั้งอยู่ค่ายภูมิพล ตำบลเขาพระงาม อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- ศูนย์สงครามพิเศษ (ศสพ.) ตั้งอยู่ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบุรี
8.ส่วนภูมิภาค
- กองทัพภาคที่ 1 (ทภ.1)
- มณฑลทหารบกที่ 11 (มทบ.11) ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
- มณฑลทหารบกที่ 12 (มทบ.12) ค่ายจักรพงศ์ อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 13 (มทบ.13) ค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 14 (มทบ.14) ค่ายนวมินทราชินี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 15 (มทบ.15) ค่ายรามราชนิเวศน์ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 16 (มทบ.16) ค่ายภาณุรังษี อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 17 (มทบ.17) ค่ายสุรสีห์ อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 18 (มทบ.18) ค่ายอดิศร อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
- มณฑลทหารบกที่ 19 (มทบ.19) ค่ายสุรสิงหนาท อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
- มณฑลทหารบกที่ 110 (มทบ.110) ค่ายทองฑีฆายุ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม
- กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2)
- มณฑลทหารบกที่ 21 (มทบ.21) ค่ายสุรนารี อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- มณฑลทหารบกที่ 22 (มทบ.22) ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี
- มณฑลทหารบกที่ 23 (มทบ.23) ค่ายศรีพัชรินทร อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
- มณฑลทหารบกที่ 24 (มทบ.24) ค่ายประจักษ์ศิลปาคม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
- มณฑลทหารบกที่ 25 (มทบ.25) ค่ายวีรวัฒน์โยธิน อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
- มณฑลทหารบกที่ 26 (มทบ.26) ค่ายสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์
- มณฑลทหารบกที่ 27 (มทบ.27) ค่ายประเสริฐสงคราม อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด
- มณฑลทหารบกที่ 28 (มทบ.28) ค่ายศรีสองรัก อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
- มณฑลทหารบกที่ 29 (มทบ.29) ค่ายกฤษณ์สีวะรา อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
- มณฑลทหารบกที่ 210 (มทบ.210) ค่ายพระยอดเมืองขวาง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม
- กองทัพภาคที่ 3 (ทภ.3)
- มณฑลทหารบกที่ 31 (มทบ.31) ค่ายจิรประวัติ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
- มณฑลทหารบกที่ 32 (มทบ.32) ค่ายสุรศักดิ์มนตรี อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
- มณฑลทหารบกที่ 33 (มทบ.33) ค่ายกาวิละ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
- มณฑลทหารบกที่ 34 (มทบ.34) ค่ายขุนเจืองธรรมิกราช อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
- มณฑลทหารบกที่ 35 (มทบ.35) ค่ายพิชัยดาบหัก อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์
- มณฑลทหารบกที่ 36 (มทบ.36) ค่ายพ่อขุนผาเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์
- มณฑลทหารบกที่ 37 (มทบ.37) ค่ายเม็งรายมหาราช อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
- มณฑลทหารบกที่ 38 (มทบ.38) ค่ายสุริยพงษ์ อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
- มณฑลทหารบกที่ 39 (มทบ.39) ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- มณฑลทหารบกที่ 310 (มทบ.310) ค่ายวชิรปราการ อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก
- กองทัพภาคที่ 4 (ทภ.4)
- มณฑลทหารบกที่ 41 (มทบ.41) ค่ายวชิราวุธ อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
- มณฑลทหารบกที่ 42 (มทบ.42) ค่ายเสนาณรงค์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
- มณฑลทหารบกที่ 43 (มทบ.43) ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
- มณฑลทหารบกที่ 44 (มทบ.44) ค่ายเขตอุดมศักดิ์ อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
- มณฑลทหารบกที่ 45 (มทบ.45) ค่ายวิภาวดีรังสิต อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
- มณฑลทหารบกที่ 46 (มทบ.46) ค่ายอิงคยุทธบริหาร อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
9.ส่วนสนับสนุนการรบ
- กองพลทหารปืนใหญ่ (พล.ป.) ดูแลพื้นที่ทั่วประเทศไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ค่ายสิริกิติ์ อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
- กองพลทหารช่าง (พล.ช) ดูแลพื้นที่ทั่วประเทศไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ค่ายบุรฉัตร อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
- หน่วยข่าวกรองทางทหาร (ขกท.)
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 1 (บชร.1) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคกลาง มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายพนัสบดีศรีอุทัย ตำบลเกาะจันทร์ อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 2 (บชร.2) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายสุรนารี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 3 (บชร.3) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคเหนือ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายสมเด็จพระเอกาทศรถ ตำบลอรัญญิก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
- กองบัญชาการช่วยรบที่ 4 (บชร.4) ดูแลด้านการส่งกำลังบำรุงและซ่อมบำรุง พื้นที่ภาคใต้ มีที่ตั้งอยู่ที่ ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ตำบลกะปาง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
ข้อมูลเพิ่มเติม https://nine100.com/a-total-of-20-army-stories/