ก่อนอื่นขอให้ทำความเข้าใจเรื่องนี้กันสั้นๆก่อนนะครับ ใครทราบแล้วก็ข้ามไปได้เลยครับ
1 GDP คืออะไรคิดคำณวนจากอะไร

2 GDP per capita ก็คือเอาGDPมาหารด้วยจำนวนประชากร เพื่อจะได้สะท้อนภาพที่ชัดเจนของประชากรในประเทศนั้น เช่นประเทศอินโดนิเซียมีGDPสูงกว่าประเทศบรูไน แต่พอมาหารด้วยจำนวนประชากร เป็นGDP per capita ก็จะพบว่าอินโดนีเซียมีค่า GDP per capita ต่ำกว่าบรูไน เพราะมีประชากรเยอะกว่าบรูไนมาก

3 GDP growth rate หรืออัตตราการเจริญเติบโตของGDP ตัวเลขนี้มักถูกนำมาใช้ให้เข้าใจผิดเช่นบอกว่าเวียตนามมีGDP growth rate สูงกว่าไทย เวียตนามนำไทยไปแล้ว แต่ในความเป็นจริงเวียตนามมี GDPต่ำกว่าไทย อัตตราการเจริญเติบโตเมื่อคำณวนเป็นร้อยละจากฐานที่มีขนาดเล็กกว่าก็เป็นไปได้มากว่าจะมีค่าสูงกว่าเหมือนเด็กที่กำลังโตก็จะมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าผู้ใหญ่ที่โตแล้ว

และลองมาดูกันว่า GDP per capita ของประเทศในกลุ่มอาเซียน เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในช่วงตั้งแต่ปี1980 จนปัจจุบัน และยังได้มีการประมาณการณ์ GDP per capita ในอนาคตต่อไปด้วยว่าจะเป็นอย่างไร แต่เนื่องจากคลิปนี้ทำเผยแพร่ออกมาก่อนวิกฤต COVID19 จึงไม่ได้มีการนำเรื่องนี้เข้ามาคิดคำณวนด้วย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วก็คงหัวทิ่มกันถ้วนหน้า ทิ่มมากทิ่มน้อยคงบอกไม่ได้เพราะวิกฤตนี้ยังไม่ได้จบลง
การเปลี่ยนแปลงของGDP ในช่วงเวลา40ปีอาเซียน บอกอะไรเราบ้าง มาดูกัน
1 GDP คืออะไรคิดคำณวนจากอะไร
2 GDP per capita ก็คือเอาGDPมาหารด้วยจำนวนประชากร เพื่อจะได้สะท้อนภาพที่ชัดเจนของประชากรในประเทศนั้น เช่นประเทศอินโดนิเซียมีGDPสูงกว่าประเทศบรูไน แต่พอมาหารด้วยจำนวนประชากร เป็นGDP per capita ก็จะพบว่าอินโดนีเซียมีค่า GDP per capita ต่ำกว่าบรูไน เพราะมีประชากรเยอะกว่าบรูไนมาก
3 GDP growth rate หรืออัตตราการเจริญเติบโตของGDP ตัวเลขนี้มักถูกนำมาใช้ให้เข้าใจผิดเช่นบอกว่าเวียตนามมีGDP growth rate สูงกว่าไทย เวียตนามนำไทยไปแล้ว แต่ในความเป็นจริงเวียตนามมี GDPต่ำกว่าไทย อัตตราการเจริญเติบโตเมื่อคำณวนเป็นร้อยละจากฐานที่มีขนาดเล็กกว่าก็เป็นไปได้มากว่าจะมีค่าสูงกว่าเหมือนเด็กที่กำลังโตก็จะมีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าผู้ใหญ่ที่โตแล้ว
และลองมาดูกันว่า GDP per capita ของประเทศในกลุ่มอาเซียน เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรในช่วงตั้งแต่ปี1980 จนปัจจุบัน และยังได้มีการประมาณการณ์ GDP per capita ในอนาคตต่อไปด้วยว่าจะเป็นอย่างไร แต่เนื่องจากคลิปนี้ทำเผยแพร่ออกมาก่อนวิกฤต COVID19 จึงไม่ได้มีการนำเรื่องนี้เข้ามาคิดคำณวนด้วย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วก็คงหัวทิ่มกันถ้วนหน้า ทิ่มมากทิ่มน้อยคงบอกไม่ได้เพราะวิกฤตนี้ยังไม่ได้จบลง