มีบทความ หรืองานเขียนไหน ที่เขียนเกี่ยวกับ สลิ่มในวรรณคดี และผลสะท้อนต่อแนวคิด สังคมไทยในปัจุบันไหมครับ

คือ อยากหามาอ่าน เพราะ ผมมีโอกาศได้อ่านงาน วรรณคดีไทย หลายๆ เรื่อง
พบว่าตรรกะ  มีความไม่สมเหตุสมผล มีความประหลาด มีความป่วยมาก 
เลยฉุดคิดได้ว่า หรือ แนวคิดเหล่านี้ คือรากเง่าของสลิ่มในยุคปัจจุบัน
เลยอยากทราบว่า มีนักคิด นักเขียนท่านไหน แสดงความคิดเห็น ต่อเรื่องเหล่านี้
ในเชิงวิภาค ไหมครับ จะได้หามาอ่านประดับความรู้
ปล.
สลิ่ม ยุคแรกถูกใช้ในทางการเมือง แต่เมื่อมีการเริ่มใข้การอย่างแพร่หลาย 
คำว่า สลิ่ม ถูกแทนความหมายรวมไปถึง กลุ่มคนที่ มีหลังแนวคิด ไม่อยู่ใน
วิสัยอันคนทั่วไปเข้าใจได้ เช่น เหมือน เห็นเลข 1+1 ย่อมเขาใจว่า 2 แต่
สลิ่ม สามารถเข้าใจ ว่าผลลัพธ์เป็น 3 เป็น 4 ได้โดยมีเหตุผล โดยหลักการณ์
อันน่าเขื่อถือ หรือเข้าใจได้ มิใด้ในหมู่คนทั่วไป 
สลิ่มฝรั่ง อย่าง ลัทธิโลกแบบ พวกต่อต้าน วัคซีน เป็นต้น
 ในวรรณคดีไทย ตัวละคร สลิ่ม ที่หมายถึง พวกที่ แสดงพฤติกรรม อันไม่สมเหตุ
ผล แนวคิดประหลาด หลักคิดวิปลาส ที่ส่งผลต่อตัวละครใน วรรณคดี 
ต้องขออภัยที่ไม่ยกตัวอย่าง เพราะจำเหตุการณ์ขัดไม่ได้เพราะหลายปีแล้วที่อ่านงานผ่านตา
แต่กลับมาฉุดคิดเอาตอนนี้ว่า แนวคิดหลายอย่างในวรรคดีไป 
แทบจะเป็นหลักคิดพื้นฐานของ สลิ่มไทยในปัจุบัน เลยครับ
แก้ไขข้อความเมื่อ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่