ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ระวี ภาวิไล
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ระวี ภาวิไล เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2468 เป็นราชบัณฑิตและอดีตอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งท่านเป็นนักวิชาการที่มีชื่อเสียงทางด้านดาราศาสตร์ เป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของประเทศไทย โดยบุคคลทั่วไปอาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี พ.ศ.2529
ศ.กิตติคุณ ดร.ระวี ได้รับการคัดเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ เมื่อปี พ.ศ.2549
ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ที่วิทยาลัยทรินิตี มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ระหว่างศึกษา เริ่มมีความสนใจในพระพุทธศาสนาและเริ่มฝึกหัดการนั่งสมาธิ[3] อาจองจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมเครื่องกล ศึกษาต่อปริญญาเอกด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจนจบในปี 2509 โดยมีผลงานวิจัยเกี่ยวกับคลื่นไมโครเวฟแล้วจึงเดินทางกลับประเทศไทย เป็นอาจารย์สอนที่ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ
จบ มัธยม จาก เซนต์คาเบรียล
จบ ป ตรี ด้านเคมี เทคนิค จาก คณะวิทยาศาสตร์ จุฬา
จบป โท จาก YoungsTown state University
จบ ป เอก จาก Cleveland State University หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับ การเคลือบเซรามิก บนใบพัดเครื่องยนต์ ไอพ่น
ทำไมนักวิทย์ที่มีชื่อเสียงในไทย สนใจในพุทธศาสนา ทั้งเป็นปฏิบัติยิ่ง อย่างนี้แสดงว่าท่านเหล่านั้นงมงายหรือ?
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ระวี ภาวิไล เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2468 เป็นราชบัณฑิตและอดีตอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งท่านเป็นนักวิชาการที่มีชื่อเสียงทางด้านดาราศาสตร์ เป็นบุคคลที่บุกเบิกการศึกษาด้านดาราศาสตร์รุ่นแรก ๆ ของประเทศไทย โดยบุคคลทั่วไปอาจเริ่มรู้จักท่านดีในช่วงการมาเยือนของดาวหางฮัลเลย์ เมื่อต้นปี พ.ศ.2529
ศ.กิตติคุณ ดร.ระวี ได้รับการคัดเลือกเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ เมื่อปี พ.ศ.2549
ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา (เกิด 8 ตุลาคม พ.ศ. 2483-) เป็นวิศวกรชาวไทย ผู้เคยเป็นลูกทีมจำลองแบบชิ้นส่วนระบบลงจอดของงานอวกาศในบริษัทคู่สัญญาของมาร์ติน มาเรียทต้า (ปัจจุบันได้ควบรวมกิจการกลายเป็นบริษัทล็อกฮีด มาร์ติน) ซึ่งเป็นผู้สร้างยานอวกาศไวกิ้งให้กับองค์การนาซาของสหรัฐอเมริกาเพื่อนำไปใช้ในภารกิจสำรวจดาวอังคาร
ดร. อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา ศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ที่วิทยาลัยทรินิตี มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ระหว่างศึกษา เริ่มมีความสนใจในพระพุทธศาสนาและเริ่มฝึกหัดการนั่งสมาธิ[3] อาจองจบปริญญาตรีด้านวิศวกรรมเครื่องกล ศึกษาต่อปริญญาเอกด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจนจบในปี 2509 โดยมีผลงานวิจัยเกี่ยวกับคลื่นไมโครเวฟแล้วจึงเดินทางกลับประเทศไทย เป็นอาจารย์สอนที่ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ
จบ มัธยม จาก เซนต์คาเบรียล
จบ ป ตรี ด้านเคมี เทคนิค จาก คณะวิทยาศาสตร์ จุฬา
จบป โท จาก YoungsTown state University
จบ ป เอก จาก Cleveland State University หัวข้อวิจัยเกี่ยวกับ การเคลือบเซรามิก บนใบพัดเครื่องยนต์ ไอพ่น