(สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเบื่อหน่ายได้บ้าง พึงคลายกำหนัดได้บ้าง พึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้. ข้อนั้นเพราะเหตุใดเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า การก่อขึ้นก็ดี การสลายลงก็ดี การถูกยึดครองก็ดี การทอดทิ้งซากไว้ก็ดี (ตาย)แห่งกายอันเป็นที่ประชุม แห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ย่อมปรากฏอยู่. เพราะเหตุนั้นปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงเบื่อหน่าย ได้บ้าง จึงคลายกำหนัดได้บ้าง จึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายนั้น. (สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดี ว่า “วิญญาณ” ก็ดี; ปุถุชนผู้มิได้ สดับแล้ว ไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งสิ่งนั้น. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า สิ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนี้ เป็นสิ่งที่ปุถุชนผู้ไม่รู้ไม่เห็นมิได้สดับแล้ว ได้ถึงทับแล้วด้วยตัณหา ได้ยึดถือแล้วด้วย ทิฏฐิโดยความเป็นตัวตน มาตลอดกาลช้านาน ว่า “นั่นของเรา, นั่นเป็นเรา, นั่นเป็น ตัวตนของเรา” ดังนี้ เพราะเหตุนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนั้น. จิตที่มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส จิตตวิสุทธิได้เลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเข้าไปยึดถือเอากาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ โดยความเป็นตัวตน ยังดีกว่า. แต่จะเข้าไปยึดถือ เอาจิต โดยความเป็นตัวตนไม่ดีเลย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า การก่อขึ้นก็ดี การสลายลงก็ดี การถูกยึดครองก็ดี การทอดทิ้งซากไว้ก็ดี (ตาย)แห่งกายอันเป็นที่ประชุม แห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ย่อมปรากฏอยู่. เพราะเหตุนั้นปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงเบื่อหน่าย ได้บ้าง จึงคลายกำหนัดได้บ้าง จึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายนั้น. (สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดี ว่า “วิญญาณ” ก็ดี; ปุถุชนผู้มิได้ สดับแล้ว ไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งสิ่งนั้น. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า สิ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนี้ เป็นสิ่งที่ปุถุชนผู้ไม่รู้ไม่เห็นมิได้สดับแล้ว ได้ถึงทับแล้วด้วยตัณหา ได้ยึดถือแล้วด้วย ทิฏฐิโดยความเป็นตัวตน มาตลอดกาลช้านาน ว่า “นั่นของเรา, นั่นเป็นเรา, นั่นเป็น ตัวตนของเรา” ดังนี้ เพราะเหตุนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนั้น. จิตที่มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส จิตตวิสุทธิได้เลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเข้าไปยึดถือเอากาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ โดยความเป็นตัวตน ยังดีกว่า. แต่จะเข้าไปยึดถือ เอาจิต โดยความเป็นตัวตนไม่ดีเลย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า กายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปีบ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปีบ้าง ร้อยปีบ้าง เกินกว่าร้อยปีบ้าง ปรากฏอยู่.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งทีเรียกกันว่า “จิต” บ้าง ว่า “มโน” บ้าง ว่า “วิญญาณ” บ้างนั้น ดวงอื่นเกิดขึ้น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน ตลอดคืน.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือน วานร เมื่อเที่ยวไปอยู่ในป่าใหญ่ ย่อมจับกิ่งไม้ : ปล่อยกิ่งนั้น จับกิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่จับเดิม เหนี่ยวกิ่งอื่น เช่นนี้เรื่อย ๆ ไป, ข้อนี้ฉันใด;
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดีว่า “วิญญาณ” ก็ดี นั้น ดวงอื่นเกิดขึ้น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ในเรื่องนี้ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ย่อมกระทำไว้ในใจ โดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาท1
(กกายทิฏฐิ)?
นั่นเทียว ดังนี้ว่า ด้วยอาการอย่างนี้: เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี, เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี, เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา จึงเกิดสุขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) สุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา จึงเกิดทุกขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา นั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) ทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา จึงเกิด อทุกขมสุขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา นั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใดในกรณีนั้น อันเป็น ตถตา คือความเป็นอย่างนั้น, เป็น อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็น อย่างนั้น, เป็น อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น, เป็น อิทัปปัจจยตา คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น;
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมนี้ เราชื่อว่า ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอัน เป็นธรรมชาติ ซึ่งอาศัยกันแล้วเกิดขึ้น).
ว่าด้วยประโยชน์ในกาลยึดกาย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเบื่อหน่ายได้บ้าง พึงคลายกำหนัดได้บ้าง พึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้. ข้อนั้นเพราะเหตุใดเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า การก่อขึ้นก็ดี การสลายลงก็ดี การถูกยึดครองก็ดี การทอดทิ้งซากไว้ก็ดี (ตาย)แห่งกายอันเป็นที่ประชุม แห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ย่อมปรากฏอยู่. เพราะเหตุนั้นปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงเบื่อหน่าย ได้บ้าง จึงคลายกำหนัดได้บ้าง จึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายนั้น. (สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดี ว่า “วิญญาณ” ก็ดี; ปุถุชนผู้มิได้ สดับแล้ว ไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งสิ่งนั้น. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า สิ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนี้ เป็นสิ่งที่ปุถุชนผู้ไม่รู้ไม่เห็นมิได้สดับแล้ว ได้ถึงทับแล้วด้วยตัณหา ได้ยึดถือแล้วด้วย ทิฏฐิโดยความเป็นตัวตน มาตลอดกาลช้านาน ว่า “นั่นของเรา, นั่นเป็นเรา, นั่นเป็น ตัวตนของเรา” ดังนี้ เพราะเหตุนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนั้น. จิตที่มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส จิตตวิสุทธิได้เลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเข้าไปยึดถือเอากาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ โดยความเป็นตัวตน ยังดีกว่า. แต่จะเข้าไปยึดถือ เอาจิต โดยความเป็นตัวตนไม่ดีเลย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า การก่อขึ้นก็ดี การสลายลงก็ดี การถูกยึดครองก็ดี การทอดทิ้งซากไว้ก็ดี (ตาย)แห่งกายอันเป็นที่ประชุม แห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ย่อมปรากฏอยู่. เพราะเหตุนั้นปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงเบื่อหน่าย ได้บ้าง จึงคลายกำหนัดได้บ้าง จึงปล่อยวางได้บ้าง ในกายนั้น. (สำหรับผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจปฏิจจสมุปบาท ๑)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดี ว่า “วิญญาณ” ก็ดี; ปุถุชนผู้มิได้ สดับแล้ว ไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งสิ่งนั้น. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า สิ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนี้ เป็นสิ่งที่ปุถุชนผู้ไม่รู้ไม่เห็นมิได้สดับแล้ว ได้ถึงทับแล้วด้วยตัณหา ได้ยึดถือแล้วด้วย ทิฏฐิโดยความเป็นตัวตน มาตลอดกาลช้านาน ว่า “นั่นของเรา, นั่นเป็นเรา, นั่นเป็น ตัวตนของเรา” ดังนี้ เพราะเหตุนั้น ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จึงไม่อาจจะเบื่อหน่าย ไม่อาจจะคลายกำหนัด ไม่อาจจะปล่อยวาง ซึ่งที่เรียกว่า จิต เป็นต้นนั้น. จิตที่มีความบริสุทธิ์หมดจดจากกิเลส จิตตวิสุทธิได้เลย
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้ว จะพึงเข้าไปยึดถือเอากาย อันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ โดยความเป็นตัวตน ยังดีกว่า. แต่จะเข้าไปยึดถือ เอาจิต โดยความเป็นตัวตนไม่ดีเลย. ข้อนั้นเพราะเหตุไรเล่า ?
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ข้อนั้นเพราะเหตุว่า กายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้งสี่นี้ ดำรงอยู่ ปีหนึ่งบ้าง สองปีบ้าง สามปีบ้าง สี่ปีบ้าง ห้าปีบ้าง สิบปีบ้าง ยี่สิบปีบ้าง สามสิบปีบ้าง สี่สิบปีบ้าง ห้าสิบปีบ้าง ร้อยปีบ้าง เกินกว่าร้อยปีบ้าง ปรากฏอยู่.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสิ่งทีเรียกกันว่า “จิต” บ้าง ว่า “มโน” บ้าง ว่า “วิญญาณ” บ้างนั้น ดวงอื่นเกิดขึ้น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน ตลอดคืน.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือน วานร เมื่อเที่ยวไปอยู่ในป่าใหญ่ ย่อมจับกิ่งไม้ : ปล่อยกิ่งนั้น จับกิ่งอื่น ปล่อยกิ่งที่จับเดิม เหนี่ยวกิ่งอื่น เช่นนี้เรื่อย ๆ ไป, ข้อนี้ฉันใด;
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! สิ่งที่เรียกกันว่า “จิต” ก็ดี ว่า “มโน” ก็ดีว่า “วิญญาณ” ก็ดี นั้น ดวงอื่นเกิดขึ้น ดวงอื่นดับไป ตลอดวัน .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ในเรื่องนี้ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว ย่อมกระทำไว้ในใจ โดยแยบคายเป็นอย่างดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาท1
(กกายทิฏฐิ)?
นั่นเทียว ดังนี้ว่า ด้วยอาการอย่างนี้: เพราะสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี, เพราะความเกิดขึ้นแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น; เพราะสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้จึงไม่มี, เพราะความดับไปแห่งสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา จึงเกิดสุขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) สุขเวทนา ที่เกิดขึ้นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา จึงเกิดทุกขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา นั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) ทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา จึงเกิด อทุกขมสุขเวทนาขึ้น; เพราะความดับแห่งผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา นั้นแหละ, เวทนาใด ที่เกิดเพราะผัสสะนั้น (ในกรณีนี้คือ) อทุกขมสุขเวทนา ที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยผัสสะอันเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา, เวทนานั้นย่อมดับ ย่อมสงบไป
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุดังนี้แล : ธรรมธาตุใดในกรณีนั้น อันเป็น ตถตา คือความเป็นอย่างนั้น, เป็น อวิตถตา คือ ความไม่ผิดไปจากความเป็น อย่างนั้น, เป็น อนัญญถตา คือ ความไม่เป็นไปโดยประการอื่น, เป็น อิทัปปัจจยตา คือความที่เมื่อมีสิ่งนี้สิ่งนี้เป็นปัจจัย สิ่งนี้สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น;
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมนี้ เราชื่อว่า ปฏิจจสมุปบาท (คือธรรมอัน เป็นธรรมชาติ ซึ่งอาศัยกันแล้วเกิดขึ้น).