ต่อเนื่องจากกระทู้นี้
http://pantip.com/topic/35245711/ บันทึกประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในแผ่นดินจีน และขอบคุณ สมาชิกหมายเลข 2930028 ที่ชี้เป้าไปต่อ
ส่วนตัวเห็นว่าน่าสนใจมากๆ เลยอยากขออนุญาติบุคคลที่เกี่ยวข้อง นำมา Rerun อีกคร้งนึง
ไปขุดต่ออ่านเจอกระทู้เก่าของคุณ Mr.Terran ผมให้เครดิตท่านก่อน ขออนุญาติไว้ตรงนี้ และเห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจและมีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนขอให้มาร่วมคิดวิเคราห์กันครับ
http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2012/04/Y11969305/Y11969305.html
ปล. ขอแท๊กห้องประวัติศาสตร์ด้วยครับ
ข้อมูล(เกือบ)ทั้งหมดนี้ลอกมาจากของคุณ Mr.Terran เชิญเสพได้
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลกิเลส ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง
หลักฐานเหตุการณ์วันประสูติ-ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
จากหนังสือ สาระสำคัญซื่อคู่เฉวียนซู : จึปู้ เล่มที่ 21
ภาพอักษรศิลาจารึกระบุว่า มีแผ่นดินไหวและแสงสว่าง ๕ สี บนท้องฟ้า
สมัยราชวงศ์โจว มีการบันทึกประวัติศาสตร์เหตุการณ์อัศจรรย์ที่เกิดขึ้นจริงในสมัยนั้น เหตุการณ์หนึ่งบอกว่า
“ในสมัยกษัตริย์ โจวเจา (โจวเจาหวัง แปลว่า กษัตริย์โจวเจา)
ปีที่ ๒๖ เดือน ๔ วันที่ ๘ (นับแบบจีนโบราณ) ได้เกิดเหตุในเมืองจีนคือ
๑. น้ำขึ้นในแม่น้ำ(ซึ่งปกติเป็นช่วงน้ำลด)
๒. น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติมีน้ำผุดขึ้นมาจนล้นทุกแห่ง
๓. แผ่นดินไหว
๔. มีแสงสว่าง ๕ สี (สำนวนจีนแปลว่าหลายสี) พวยพุ่งไปบนท้องฟ้า
ส่องสว่างไปถึงยังนอกอวกาศ สุดลูกหูลูกตา ทำให้กษัตริย์ โจวเจา รู้สึกประหลาดใจ
จึงสอบถามอำมาตย์ว่าเกิดอะไรขึ้น อำมาตย์ได้กราบทูลตอบว่า
“ในทิศตะวันตก(ของจีน) ได้มีอริยบุคคลบังเกิดขึ้นแล้ว”
กษัตริย์โจวเจา จึงถามว่า “แล้วเราจะได้พบคำสอนของท่านผู้นั้นหรือไม่”
อำมาตย์ตอบว่า “คำสอนของท่าน(อริยบุคคลนั้น)จะเผยแผ่เข้ามาในแผ่นดินจีนอีก ๑,๐๐๐ ปีข้างหน้า”
กษัตริย์โจวเจาจึงมีรับสั่งให้บันทึกเหตุการณ์นี้ไว้ โดยแกะสลักลงบนแผ่นศิลาประวัติศาสตร์จีน...
๘๐ ปีต่อมา ถึงยุคกษัตริย์โจวมู่ ก็มีการบันทึกเหตุการณ์แปลกประหลาดอีก
คือได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว มีลมพัดแรงในเมืองจีนและแสงสว่างคล้ายสีรุ้ง ๑๒ เส้น
ส่องมาจากทิศตะวันตก ทาบอยู่บนท้องฟ้าของเมืองจีนตลอดคืน
อำมาตย์ทำนายว่า “กายหยาบของอริยบุคคลกำลังแตกดับจากโลกนี้ไป”
ซึ่งวันที่ถูกจารึกในสมัยกษัตริย์โจวเจา ได้ตรงกับ วันประสูติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ส่วนวันที่ถูกจารึกในสมัย กษัตริย์โจวมู่ ได้ตรงกับ วันปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เป็นที่น่าอัศจรรย์ที่วันประสูติและปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
ได้เกิดแผ่นดินไหวไปทั่วโลก ซึ่งชาวจีนก็ได้บันทึกไว้ในศิลาจารึกประวัติศาสตร์ของประเทศด้วย
ส่วนในวันตรัสรู้นั้น ได้มีหลักฐานบันทึกไว้ในบทขยายความว่า ก็เกิดเหตุมีแสงสว่างเกิดมาถึงเมืองจีนเช่นกัน

๑,๐๐๐ ปีต่อมา ถึงยุคราชวงศ์ฮั่น ของกษัตริย์ฮั่นหมิงตี้
พระองค์ฝันเห็นบุรุษในรูปกายทองคำ สูงใหญ่ มีรัศมีเรืองรองกระจายไปทั่ว
อำมาตย์ผู้ซึ่งชำนาญในประวัติศาสตร์ของจีน ทำนายฝันว่า
“นั่นเป็นภาพของพระศาสดาพระองค์หนึ่ง ที่อยู่ทางทิศตะวันตก ที่เรียกว่า “ฝอ” หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ซึ่งสมัยที่พระองค์มีพระชนม์ชีพก็อยู่ในบริเวณประเทศอินเดีย”
อำมาตย์คนที่ ๒ ผู้จบการศึกษาสูงสุด กล่าวเสริมว่า
“ใช่เลยพระเจ้าข้า เพราะในยุคของกษัตริย์โจวเจา ก็มีบันทึกในศิลาจารึก
เรื่องอริยบุคคลในทิศตะวันตกนี้ไว้ ซึ่งตอนนี้ก็ครบ ๑,๐๐๐ ปีพอดี
ได้ถึงเวลาที่ศาสนาของพระองค์ ควรจะเข้ามาในจีนแล้ว เป็นบุญของพวกเราชาวจีนแล้ว”
กษัตริย์ฮั่นหมิงตี้ จึงส่งคณะทูตอันประกอบด้วยขุนนางผู้มีความรู้จำนวน ๑๘ คน
ไปอัญเชิญพระพุทธศาสนามาที่เมืองจีน โดยใช้เวลาเดินทางไปกลับถึง ๓ ปี
ซึ่งคณะทูตทั้ง ๑๘ ได้พบกับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาชาวเอเชียกลางผสมกับอินเดีย จำนวน ๒ รูป
จึงได้นิมนต์ท่านมาที่จีนพร้อมกับพระสูตร พระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูป
เมื่อกลับมาถึงจึงได้มีการแปลพระสูตรเป็นภาษาจีนครั้งแรกที่ วัดม้าขาว
(ซึ่งปัจจุบัน วัดนี้มีอายุถึง ๑,๙๐๐ ปี แต่เดิมเคยเป็นของความเชื่ออื่นมาก่อน)
จึงถือว่าวัดนี้เป็นต้นกำเนิดพระพุทธศาสนาในประเทศจีน
อ้างอิงจาก ซื่อคู่เฉวียนซู : จึปู้ เล่มที่ ๒๑ ซึ่งเป็นหนังสือชุดที่รวบรวมตำราความรู้ของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว จนถึงยุคราชวงศ์ชิง
เครดิต คุณ สันติภาพโลก
แต่จริงๆแล้วปีประสูติของพระพุทธเจ้าคือปีใดกันแน่
I found different years cited as Buddha's birth year. They were 560, 563, 564, 623 and 624 BCE. Almost all sources cited the full moon of May as the birth date, although 2 sources cited April 8. The May full moons for these years are: May 7, May 11, May 21, May 14 and May 25. April 8 was a full moon in 560 BCE.
The Cambridge and Oxford histories of India accept 483 B.C as the date of Buddha's nirvana. He was 80 years old when he died, so this puts his birth year at 563 BCE.
If we accept 563 BCE as Buddha's birth year, his birth date would be May 11.
However, in January 2006 an Indian historian challenged the historical assertion that Buddha was born between 560-624 BCE. He cites evidence that Buddha was born in 1887 BCE. Assuming he was born on the May full moon, his date of birth would be May 8, 1887 BCE.
"author Kota Nityananda Sastry in his latest book 'Age of Lord Buddha' makes a critical appreciation of available data compiled by Western historians who, he thinks, made a mess of Indian history.
Sastry quotes his father Kota Venkatachelam's treatise 'Age of Buddha, Mililnda & Amtiyoka', which establishes that Buddha lived between 1887 B.C and 1807 B.C.
Venkatachelam's book 'The Plot in Indian Chronology' had gone into the history and the missing links in the chronology of events in Indian history.
Sastry states that Western scholars arbitrarily skipped 12 centuries of Indian history because their 'hypothesis' about Alexander's invasion did not match with centuries-old Indian chronology."
And in my opinion, this sounds like just the sort of thing that eurocentric British historians would do.
"The author asserts that Buddha was the contemporary of Kshemajit, Bimbisara and Ajatasatru, the 31st, 32nd and 33rd kings of Magadh respectively. This has been corroborated by the Puranic as well as Buddhist historical evidence, he adds.
Ultimately, Dr Sastry quoting evidences comes to the conviction that Lord Buddha was born in 1887 B.C and attained Nirvana in 1807 B.C."
จาก
http://www.buddhistchannel.tv/index.php?id=10,2190,0,0,1,0:
เครดิตคุณ Astro Neemo
1887 ปีก่อนคริตกาล หากนับปัจจุบัน ปีนี้จะเป็นปี พศ. 1887+2016 = พ.ศ.4003 แล้ว ! น่ากลัวไหม (หากข้อมูลนี้เป็นจริง)
ฝ่ายมหายาน กำหนดวันประสูติพระพุทธเจ้าดังนี้
วันประสูติ - วันที่ 4 เมษายน B.C. 557 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะโรง ปีกลียค 2545
วันตรัสรู้ - วันที่ 8 เมษายน B.C. 522 ตรงกับวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะ ปีกลียค 2580
วันปรินิพพาน - วันที่ 1 เมษายน B.C. 478 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน ปีกลียค 2624
โดยการกำหนดดังกล่าว กำหนดให้ตรงกับอรรถกถาเฉพาะวันและเดือน ส่วนปีนักษัตร์ไม่ได้นำมาพิจารณาด้วย
วันที่ 4 เมษายน B.C. 557
ส่วนบรรดานักปราชญ์ คนอื่นๆ
ท่านปรินเซป - วันศุกร์ที่ 11 เมษายน B.C.1027 ปีจอ
ดาว ๗ กุมลัคน์ราศีสิงห์ ดาว ๒ พิจิก ดาว ๕๘ มีน ดาว ๔ เมษ ดาว ๑๖ พฤษภ ดาว ๓ มิถุน
(ถ้าว่ากันตามนี้ ปัจจุบัน พ.ศ. 3039)
-ท่านแจ๊คริล - วันพุธที่ 29 มี.ค. B.C.901 ปีวอก
ลัคนากรกฏ ดาว ๕๒ ตุลย์ ดาว ๗ ธนู ดาว ๑๖๔ เมษ ดาว ๓๘ มิถุน
- ท่านมณีเมฆไล - วันอังคารที่ 21 เมย. B.C.846 ปีเถาะ
-นักปราชญ์เถระฝ่ายมอญ - วันพฤหัสที่ 31 มี.ค. B.C. 638
-ท่าน บี.วี. รามัน นักปราชญ์โหราศาสตร์อินเดีย ต้นตำรับโหรภารตะของไทย
วันอังคารที่ 14 เมษายน B.C. 623
อันนี้ยิ่งไปกันใหญ่ พระพุทธเจ้าประสูติมา 4000 ปีแล้ว
http://kmrao.wordpress.com/2009/11/25/sri-kota-venkatachalam-a-complete-scholar-historian/ Link เสียนะ จขกทลองแล้ว
ภาพจากเวป dailymail พระพุทธรูปอายุ 2600 ปี!!
Copper load of this! Company digging mine in Afghanistan unearths 2,600-year-old Buddhist monastery
link :
http://www.dailymail.co.uk/news/article-1329650/Company-digging-Afghanistan-unearths-2-600-year-old-Buddhist-monastery.html Link เสียนะ จขกทลองแล้ว
Did Buddha live in 17th century B.C?
newindpress.com, January 12, 2006
VIJAYAWADA, India -- When was Lord Buddha born? Or when did he attain Nirvana? The answers to such puzzling historical questions may be found in the texts of puranas and scriptures.
However, author Kota Nityananda Sastry in his latest book ‘Age of Lord Buddha’ makes a critical appreciation of available data compiled by Western historians who, he thinks, made a mess of Indian history.
The Cambridge and Oxford histories of India accept 483 B.C as the date of Buddha’s nirvana. But, William Jones, on the basis of Chinese and Tibetan records infers that Buddha lived in the 11th century B.C.
Historian Fleet, who makes a study of ‘Rajatarangini’, thinks that Buddha lived in the 17th century B.C. Chinese monk Fa-Hien puts Buddha’s Nirvana at 1050 B.C. These contradictory theories may confuse one altogether.
The history that Buddha lived in the 5th century B.C was propounded by E.J Rapson who writes that the exact date of Buddha’s Nirvana is not known and hence the popularly accepted year of Buddha’s Nirvana is imaginary.
Sastry quotes his father Kota Venkatachelam’s treatise ‘Age of Buddha, Mililnda & Amtiyoka’, which establishes that Buddha lived between 1887 B.C and 1807 B.C.
Venkatachelam’s book ‘The Plot in Indian Chronology’ had gone into the history and the missing links in the chronology of events in Indian history.
Sastry states that Western scholars arbitrarily skipped 12 centuries of Indian history because their ‘hypothesis’ about Alexander’s invasion did not match with centuries-old Indian chronology.
The author asserts that Buddha was the contemporary of Kshemajit, Bimbisara and Ajatasatru, the 31st, 32nd and 33rd kings of Magadh respectively. This has been corroborated by the Puranic as well as Buddhist historical evidence, he adds.
Ultimately, Dr Sastry quoting evidences comes to the conviction that Lord Buddha was born in 1887 B.C and attained Nirvana in 1807 B.C.
Sastry can be contacted at 23-34-18, II floor, Manepallivari Street, S.N Puam, Vijayawada-11.
[img]http://f.ptcdn.in
บันทึกประวัติศาสตร์ ปัจจุบันคือปี พศ.4003 พระพุทธเจ้าเกิดมาแล้ว 4 พันปี
ส่วนตัวเห็นว่าน่าสนใจมากๆ เลยอยากขออนุญาติบุคคลที่เกี่ยวข้อง นำมา Rerun อีกคร้งนึง
ไปขุดต่ออ่านเจอกระทู้เก่าของคุณ Mr.Terran ผมให้เครดิตท่านก่อน ขออนุญาติไว้ตรงนี้ และเห็นว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจและมีความเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนขอให้มาร่วมคิดวิเคราห์กันครับ http://topicstock.pantip.com/religious/topicstock/2012/04/Y11969305/Y11969305.html
ปล. ขอแท๊กห้องประวัติศาสตร์ด้วยครับ
ข้อมูล(เกือบ)ทั้งหมดนี้ลอกมาจากของคุณ Mr.Terran เชิญเสพได้
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลกิเลส ตรัสรู้ชอบได้ด้วยพระองค์เอง
หลักฐานเหตุการณ์วันประสูติ-ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
จากหนังสือ สาระสำคัญซื่อคู่เฉวียนซู : จึปู้ เล่มที่ 21
ภาพอักษรศิลาจารึกระบุว่า มีแผ่นดินไหวและแสงสว่าง ๕ สี บนท้องฟ้า
สมัยราชวงศ์โจว มีการบันทึกประวัติศาสตร์เหตุการณ์อัศจรรย์ที่เกิดขึ้นจริงในสมัยนั้น เหตุการณ์หนึ่งบอกว่า
“ในสมัยกษัตริย์ โจวเจา (โจวเจาหวัง แปลว่า กษัตริย์โจวเจา)
ปีที่ ๒๖ เดือน ๔ วันที่ ๘ (นับแบบจีนโบราณ) ได้เกิดเหตุในเมืองจีนคือ
๑. น้ำขึ้นในแม่น้ำ(ซึ่งปกติเป็นช่วงน้ำลด)
๒. น้ำในแหล่งน้ำธรรมชาติมีน้ำผุดขึ้นมาจนล้นทุกแห่ง
๓. แผ่นดินไหว
๔. มีแสงสว่าง ๕ สี (สำนวนจีนแปลว่าหลายสี) พวยพุ่งไปบนท้องฟ้า
ส่องสว่างไปถึงยังนอกอวกาศ สุดลูกหูลูกตา ทำให้กษัตริย์ โจวเจา รู้สึกประหลาดใจ
จึงสอบถามอำมาตย์ว่าเกิดอะไรขึ้น อำมาตย์ได้กราบทูลตอบว่า
“ในทิศตะวันตก(ของจีน) ได้มีอริยบุคคลบังเกิดขึ้นแล้ว”
กษัตริย์โจวเจา จึงถามว่า “แล้วเราจะได้พบคำสอนของท่านผู้นั้นหรือไม่”
อำมาตย์ตอบว่า “คำสอนของท่าน(อริยบุคคลนั้น)จะเผยแผ่เข้ามาในแผ่นดินจีนอีก ๑,๐๐๐ ปีข้างหน้า”
กษัตริย์โจวเจาจึงมีรับสั่งให้บันทึกเหตุการณ์นี้ไว้ โดยแกะสลักลงบนแผ่นศิลาประวัติศาสตร์จีน...
๘๐ ปีต่อมา ถึงยุคกษัตริย์โจวมู่ ก็มีการบันทึกเหตุการณ์แปลกประหลาดอีก
คือได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว มีลมพัดแรงในเมืองจีนและแสงสว่างคล้ายสีรุ้ง ๑๒ เส้น
ส่องมาจากทิศตะวันตก ทาบอยู่บนท้องฟ้าของเมืองจีนตลอดคืน
อำมาตย์ทำนายว่า “กายหยาบของอริยบุคคลกำลังแตกดับจากโลกนี้ไป”
ซึ่งวันที่ถูกจารึกในสมัยกษัตริย์โจวเจา ได้ตรงกับ วันประสูติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ส่วนวันที่ถูกจารึกในสมัย กษัตริย์โจวมู่ ได้ตรงกับ วันปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เป็นที่น่าอัศจรรย์ที่วันประสูติและปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
ได้เกิดแผ่นดินไหวไปทั่วโลก ซึ่งชาวจีนก็ได้บันทึกไว้ในศิลาจารึกประวัติศาสตร์ของประเทศด้วย
ส่วนในวันตรัสรู้นั้น ได้มีหลักฐานบันทึกไว้ในบทขยายความว่า ก็เกิดเหตุมีแสงสว่างเกิดมาถึงเมืองจีนเช่นกัน
๑,๐๐๐ ปีต่อมา ถึงยุคราชวงศ์ฮั่น ของกษัตริย์ฮั่นหมิงตี้
พระองค์ฝันเห็นบุรุษในรูปกายทองคำ สูงใหญ่ มีรัศมีเรืองรองกระจายไปทั่ว
อำมาตย์ผู้ซึ่งชำนาญในประวัติศาสตร์ของจีน ทำนายฝันว่า
“นั่นเป็นภาพของพระศาสดาพระองค์หนึ่ง ที่อยู่ทางทิศตะวันตก ที่เรียกว่า “ฝอ” หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ซึ่งสมัยที่พระองค์มีพระชนม์ชีพก็อยู่ในบริเวณประเทศอินเดีย”
อำมาตย์คนที่ ๒ ผู้จบการศึกษาสูงสุด กล่าวเสริมว่า
“ใช่เลยพระเจ้าข้า เพราะในยุคของกษัตริย์โจวเจา ก็มีบันทึกในศิลาจารึก
เรื่องอริยบุคคลในทิศตะวันตกนี้ไว้ ซึ่งตอนนี้ก็ครบ ๑,๐๐๐ ปีพอดี
ได้ถึงเวลาที่ศาสนาของพระองค์ ควรจะเข้ามาในจีนแล้ว เป็นบุญของพวกเราชาวจีนแล้ว”
กษัตริย์ฮั่นหมิงตี้ จึงส่งคณะทูตอันประกอบด้วยขุนนางผู้มีความรู้จำนวน ๑๘ คน
ไปอัญเชิญพระพุทธศาสนามาที่เมืองจีน โดยใช้เวลาเดินทางไปกลับถึง ๓ ปี
ซึ่งคณะทูตทั้ง ๑๘ ได้พบกับพระภิกษุในพระพุทธศาสนาชาวเอเชียกลางผสมกับอินเดีย จำนวน ๒ รูป
จึงได้นิมนต์ท่านมาที่จีนพร้อมกับพระสูตร พระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูป
เมื่อกลับมาถึงจึงได้มีการแปลพระสูตรเป็นภาษาจีนครั้งแรกที่ วัดม้าขาว
(ซึ่งปัจจุบัน วัดนี้มีอายุถึง ๑,๙๐๐ ปี แต่เดิมเคยเป็นของความเชื่ออื่นมาก่อน)
จึงถือว่าวัดนี้เป็นต้นกำเนิดพระพุทธศาสนาในประเทศจีน
อ้างอิงจาก ซื่อคู่เฉวียนซู : จึปู้ เล่มที่ ๒๑ ซึ่งเป็นหนังสือชุดที่รวบรวมตำราความรู้ของจีนตั้งแต่สมัยราชวงศ์โจว จนถึงยุคราชวงศ์ชิง
เครดิต คุณ สันติภาพโลก
แต่จริงๆแล้วปีประสูติของพระพุทธเจ้าคือปีใดกันแน่
I found different years cited as Buddha's birth year. They were 560, 563, 564, 623 and 624 BCE. Almost all sources cited the full moon of May as the birth date, although 2 sources cited April 8. The May full moons for these years are: May 7, May 11, May 21, May 14 and May 25. April 8 was a full moon in 560 BCE.
The Cambridge and Oxford histories of India accept 483 B.C as the date of Buddha's nirvana. He was 80 years old when he died, so this puts his birth year at 563 BCE.
If we accept 563 BCE as Buddha's birth year, his birth date would be May 11.
However, in January 2006 an Indian historian challenged the historical assertion that Buddha was born between 560-624 BCE. He cites evidence that Buddha was born in 1887 BCE. Assuming he was born on the May full moon, his date of birth would be May 8, 1887 BCE.
"author Kota Nityananda Sastry in his latest book 'Age of Lord Buddha' makes a critical appreciation of available data compiled by Western historians who, he thinks, made a mess of Indian history.
Sastry quotes his father Kota Venkatachelam's treatise 'Age of Buddha, Mililnda & Amtiyoka', which establishes that Buddha lived between 1887 B.C and 1807 B.C.
Venkatachelam's book 'The Plot in Indian Chronology' had gone into the history and the missing links in the chronology of events in Indian history.
Sastry states that Western scholars arbitrarily skipped 12 centuries of Indian history because their 'hypothesis' about Alexander's invasion did not match with centuries-old Indian chronology."
And in my opinion, this sounds like just the sort of thing that eurocentric British historians would do.
"The author asserts that Buddha was the contemporary of Kshemajit, Bimbisara and Ajatasatru, the 31st, 32nd and 33rd kings of Magadh respectively. This has been corroborated by the Puranic as well as Buddhist historical evidence, he adds.
Ultimately, Dr Sastry quoting evidences comes to the conviction that Lord Buddha was born in 1887 B.C and attained Nirvana in 1807 B.C."
จาก http://www.buddhistchannel.tv/index.php?id=10,2190,0,0,1,0:
เครดิตคุณ Astro Neemo
1887 ปีก่อนคริตกาล หากนับปัจจุบัน ปีนี้จะเป็นปี พศ. 1887+2016 = พ.ศ.4003 แล้ว ! น่ากลัวไหม (หากข้อมูลนี้เป็นจริง)
ฝ่ายมหายาน กำหนดวันประสูติพระพุทธเจ้าดังนี้
วันประสูติ - วันที่ 4 เมษายน B.C. 557 ตรงกับวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีมะโรง ปีกลียค 2545
วันตรัสรู้ - วันที่ 8 เมษายน B.C. 522 ตรงกับวันพุธ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีเถาะ ปีกลียค 2580
วันปรินิพพาน - วันที่ 1 เมษายน B.C. 478 ตรงกับวันอังคาร ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีกุน ปีกลียค 2624
โดยการกำหนดดังกล่าว กำหนดให้ตรงกับอรรถกถาเฉพาะวันและเดือน ส่วนปีนักษัตร์ไม่ได้นำมาพิจารณาด้วย
วันที่ 4 เมษายน B.C. 557
ส่วนบรรดานักปราชญ์ คนอื่นๆ
ท่านปรินเซป - วันศุกร์ที่ 11 เมษายน B.C.1027 ปีจอ
ดาว ๗ กุมลัคน์ราศีสิงห์ ดาว ๒ พิจิก ดาว ๕๘ มีน ดาว ๔ เมษ ดาว ๑๖ พฤษภ ดาว ๓ มิถุน
(ถ้าว่ากันตามนี้ ปัจจุบัน พ.ศ. 3039)
-ท่านแจ๊คริล - วันพุธที่ 29 มี.ค. B.C.901 ปีวอก
ลัคนากรกฏ ดาว ๕๒ ตุลย์ ดาว ๗ ธนู ดาว ๑๖๔ เมษ ดาว ๓๘ มิถุน
- ท่านมณีเมฆไล - วันอังคารที่ 21 เมย. B.C.846 ปีเถาะ
-นักปราชญ์เถระฝ่ายมอญ - วันพฤหัสที่ 31 มี.ค. B.C. 638
-ท่าน บี.วี. รามัน นักปราชญ์โหราศาสตร์อินเดีย ต้นตำรับโหรภารตะของไทย
วันอังคารที่ 14 เมษายน B.C. 623
อันนี้ยิ่งไปกันใหญ่ พระพุทธเจ้าประสูติมา 4000 ปีแล้ว
http://kmrao.wordpress.com/2009/11/25/sri-kota-venkatachalam-a-complete-scholar-historian/ Link เสียนะ จขกทลองแล้ว
ภาพจากเวป dailymail พระพุทธรูปอายุ 2600 ปี!!
Copper load of this! Company digging mine in Afghanistan unearths 2,600-year-old Buddhist monastery
link : http://www.dailymail.co.uk/news/article-1329650/Company-digging-Afghanistan-unearths-2-600-year-old-Buddhist-monastery.html Link เสียนะ จขกทลองแล้ว
Did Buddha live in 17th century B.C?
newindpress.com, January 12, 2006
VIJAYAWADA, India -- When was Lord Buddha born? Or when did he attain Nirvana? The answers to such puzzling historical questions may be found in the texts of puranas and scriptures.
However, author Kota Nityananda Sastry in his latest book ‘Age of Lord Buddha’ makes a critical appreciation of available data compiled by Western historians who, he thinks, made a mess of Indian history.
The Cambridge and Oxford histories of India accept 483 B.C as the date of Buddha’s nirvana. But, William Jones, on the basis of Chinese and Tibetan records infers that Buddha lived in the 11th century B.C.
Historian Fleet, who makes a study of ‘Rajatarangini’, thinks that Buddha lived in the 17th century B.C. Chinese monk Fa-Hien puts Buddha’s Nirvana at 1050 B.C. These contradictory theories may confuse one altogether.
The history that Buddha lived in the 5th century B.C was propounded by E.J Rapson who writes that the exact date of Buddha’s Nirvana is not known and hence the popularly accepted year of Buddha’s Nirvana is imaginary.
Sastry quotes his father Kota Venkatachelam’s treatise ‘Age of Buddha, Mililnda & Amtiyoka’, which establishes that Buddha lived between 1887 B.C and 1807 B.C.
Venkatachelam’s book ‘The Plot in Indian Chronology’ had gone into the history and the missing links in the chronology of events in Indian history.
Sastry states that Western scholars arbitrarily skipped 12 centuries of Indian history because their ‘hypothesis’ about Alexander’s invasion did not match with centuries-old Indian chronology.
The author asserts that Buddha was the contemporary of Kshemajit, Bimbisara and Ajatasatru, the 31st, 32nd and 33rd kings of Magadh respectively. This has been corroborated by the Puranic as well as Buddhist historical evidence, he adds.
Ultimately, Dr Sastry quoting evidences comes to the conviction that Lord Buddha was born in 1887 B.C and attained Nirvana in 1807 B.C.
Sastry can be contacted at 23-34-18, II floor, Manepallivari Street, S.N Puam, Vijayawada-11.
[img]http://f.ptcdn.in