ศีล ๕ ข้อ คือ
๑. ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
๒. อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
๔. มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
**********************
อานิสงส์ของศีลแต่ละข้อ ~
ปาณาติปาตาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้คือ
องฺคปจฺจงฺคสมนฺนาคตา (ความเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอวัยวะน้อยใหญ่) ๑
อาโรหปริณาหสมฺปตฺติ (ความถึงพร้อมด้วยส่วนสูงและส่วนกว้าง) ๑
ชวนสมฺปตฺติ (ความถึงพร้อมด้วยเชาว์ไวไหวพริบ) ๑
สุปติฏฺฐิตปาทตา (ความเป็นผู้มีเท้าตั้งอยู่เหมาะสม) ๑
จารุตา (ความสวยงาม) ๑
มุทุตา (ความเป็นผู้อ่อนโยน) ๑
สุจิตา (ความสะอาด) ๑
สูรตา (ความกล้าหาญ) ๑
มหาพลตา (ความเป็นผู้มีกำลังมาก) ๑
วิสฏฺฐวจนตา (ความเป็นผู้มีถ้อยคำสละสลวย พูดจาน่ารัก) ๑
สตฺตานํ ปิยมนาปตา (ความเป็นผู้น่ารัก น่าพอใจ ของสัตว์ทั้งหลาย) ๑
อภิชฺชปริสตา (ความเป็นผู้มีบริษัทบริวารไม่แตกแยกกัน) ๑
อฉมฺภิตา (ความเป็นผู้ไม่สะดุ้งหวาดเสียว) ๑
ทุปฺปธํสิยตา (ความเป็นผู้อันใครๆ กำจัดได้ยาก) ๑
ปรูปกฺกเมน อมรณตา (ความเป็นผู้ไม่ตายด้วยการปองร้ายของผู้อื่น) ๑
มหาปริวารตา (ความเป็นผู้มีบริวารมาก) ๑
สุวณฺณตา (ความเป็นผู้มีผิวดังทอง) ๑
สุสณฺฐานตา (ความเป็นผู้มีทรวดทรงงาม) ๑
อปฺปาพาธตา (ความเป็นผู้มีอาพาธน้อย) ๑
อโสกตา (ความเป็นผู้ไม่เศร้าโศก) ๑
ปิยมนาเปหิ อวิปฺปโยคตา (ความเป็นผู้ไม่พลัดพราก จากของรักของชอบใจ) ๑
ทีฆายุตา (ความเป็นผู้มีอายุยืน) ๑.
อทินนาทานาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้คือ
มหาธนธญฺญตา (ความเป็นผู้มีทรัพย์ และข้าวเปลือกมาก) ๑
อนนฺตโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะ อเนกอนันต์) ๑
ถิรโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะยั่งยืน) ๑
อิจฺฉิตานํ โภคานํ ขิปฺปปฏิลาโภ (การได้โภคทรัพย์ตามที่ต้องการอย่างฉับพลัน) ๑
ราชาทีหิ อสาธารณโภคตา (การมีโภคะไม่ทั่วไปกับพระราชาเป็นต้น) ๑
อุฬารโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะโอฬาร) ๑
ตตฺถ ตตฺถ เชฏฺฐกภาโว (ความเป็นหัวหน้าในที่นั้นๆ) ๑
นตฺถิภาวสฺส อชานนตา (ความเป็นผู้ไม่รู้จักคำว่าไม่มี) ๑
สุขวิหารตา (ความเป็นผู้อยู่อย่างสบาย) ๑.
อพฺรหฺมจริยาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
วิคตปจฺจตฺถิกตา (ความเป็นผู้ปราศจากข้าศึก) ๑
สพฺพสตฺตานํ ปิยมนาปตา (ความเป็นที่รักเป็นที่พอใจของสรรพสัตว์) ๑
อนฺนปานวตฺถจฺฉาทนาทีนํ ลาภิตา (ความเป็นผู้มีปกติได้ของต่างๆ เช่น ข้าว น้ำ ผ้า และวัตถุเครื่องปกปิด) ๑
สุขสุปนตา (การนอนหลับสบาย) ๑
สุขปฏิพุชฺฌนตา (การตื่นขึ้นมาสบาย) ๑
อปายภยวิโมกฺโข (การพ้นจากภัยในอบาย) ๑
อตฺถีภาวนปุ ํสกภาวานํ อภพฺพตา (ความไม่ควรแก่การเกิดเป็นหญิง เป็นกะเทย) ๑
อกฺโกธนตา (ความเป็นผู้ไม่โกรธ) ๑
สจฺจการิตา (ความเป็นผู้มีปกติทำจริง) ๑
อมงฺกุภูตตา (ความเป็นผู้ไม่เก้อเขินหรือประหม่า ๑)
อาราธนสุขตา (ความเป็นผู้มีความสุขด้วยการรับเชิญ) ๑
ปริปุณฺณินฺทฺริยตา (ความเป็นผู้มีอินทรีย์บริบูรณ์) ๑
นิราสงฺกตา (ความเป็นผู้ปราศจากความระแวง) ๑
อปฺโปสฺสุกฺกตา (ความเป็นผู้มีความขวนขวายน้อย-คือไม่ต้องลำบาก ดิ้นรนมาก) ๑
สุขวิหารตา (ความเป็นผู้อยู่อย่างเป็นสุข) ๑
อกุโตภยตา (ความเป็นผู้ไม่มีภัยจากที่ไหนๆ) ๑
ปิยวิปฺปโยคาภาโว (ความเป็นผู้ไม่มีการพลัดพรากจากของรัก) ๑.
แม้ผลของการงดเว้นจากมิจฉาจาร ก็รวมอยู่ในผลของการงดเว้นจากการไม่ประพฤติพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อพฺรหฺมจริยา เวรมณี ดังนี้.
(ผู้ที่รักษาศีลห้า แต่ไม่สำเร็จความใคร่ จะได้ผลดี ในข้อนี้มาก แต่ผู้ที่รักษาศีลแปด หรืออุโบสถศีลจะได้รับสิ่งที่เจริญกว่านั้น เป็นเพราะ อกุศลได้รับการเบียดบัง จิตจะผ่องใสขึ้น กุศลได้รับการสั่งสมมากขึ้นนั่นเอง)
มุสาวาทาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
วิปฺปสนฺนินฺทฺริยตา (ความเป็นผู้มีอินทรีย์ผ่องใส) ๑
วิสฏฺฐมธุรภาณิตา (ความเป็นผู้มีปกติพูดด้วยคำสละสลวย อ่อนหวาน) ๑
สมสิตสุทฺธทนฺตตา (ความเป็นผู้มีฟันเรียบเสมอ ทั้งขาวทั้งสะอาด) ๑
นาติถูลตา (ความเป็นผู้ไม่อ้วนจนเกินไป) ๑
นาติกีสตา (ความเป็นผู้ไม่ผอมจนเกินไป) ๑
นาติรสสตา (ความเป็นผู้ไม่ต่ำเกินไป) ๑
นาติทีฆตา (ความเป็นผู้ไม่สูงเกินไป) ๑
สุขสมฺผสฺสตา (ความเป็นผู้มีสัมผัสเป็นสุข) ๑
อุปฺปลคนฺธมุขตา (ความเป็นผู้มีกลิ่นปากหอมเหมือนกลิ่นดอกอุบล) ๑
สุสสูสกปริสตา (ความเป็นผู้มีบริษัท เชื่อฟังตั้งอยู่ในโอวาท) ๑
อาเทยฺยวจนตา (ความเป็นผู้มีวาจาเชื่อถือได้) ๑
กมลทลสทิสมุทุโลหิตนยชิวฺหตา (ความเป็นผู้มีลิ้นอ่อน แดงและบางเหมือนกลีบดอกอุบล) ๑
อลีนตา (ความเป็นผู้ไม่หดหู่) ๑
อนุทฺธตตา (ความเป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน) ๑.
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺเนสุ กิจฺจกรณีเยสุ อปฺปมาทตา (ความเป็นผู้ไม่ประมาทในกิจและกรณียกิจ ทั้งที่เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบัน) ๑
ญาณวนฺตตา (ความเป็นผู้มีญาณ) ๑
สทา อุปฏฺฐิตสติตา (ความเป็นผู้มีสติปรากฏอยู่ทุกเมื่อ) ๑
อุปฺปนฺเนสุ กิจฺจกรณีเยสุ สพฺพฏฺฐานุปฺปตฺติกปฏิภาณวนตตา (ความเป็นผู้มีปฏิภาณ เกิดขึ้นทุกสถาน ในเมื่อมีกิจและกรณียกิจเกิดขึ้น) ๑
อนลสตา (ความเป็นผู้ไม่เกียจคร้าน) ๑
อชฬตา (ความเป็นผู้ไม่โง่เขลา) ๑
อมูคตา (ความเป็นผู้ไม่บ้าใบ้) ๑
อจฺฉมฺภิตา (ความเป็นผู้ไม่หวาดสะดุ้ง) ๑
อสารมฺภตา (ความเป็นผู้ไม่มีการแข่งดี) ๑
อนิสสุกิตา (ความเป็นผู้ไม่มีความริษยา) ๑
อมจฺฉริตา (ความเป็นผู้ไม่ตระหนี่) ๑
สจฺจวาทิตา (ความเป็นผู้มีปกติกล่าวคำสัตย์) ๑
อปิสุณ อผรุส อสมฺผปฺปลาปวาทิตา (ความเป็นผู้มีปกติไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ) ๑
กตญฺญุตา (ความเป็นคนกตัญญู) ๑ กตเวทิตา (ความเป็นผู้มีกตเวที) ๑
โภควนฺตตา (ความเป็นผู้มีโภคะทรัพย์สมบัติ) ๑
สีลวนฺตตา (ความเป็นผู้มีศีล) ๑
อุชุคตา (ความเป็นผู้ซื่อตรง) ๑
อกฺโกธนตา (ความเป็นผู้ไม่โกรธ) ๑
หิโรตฺตปฺปสมฺปนฺนตา (ความเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยหิริและโอตัปปะ) ๑
มหตฺตตา (ความเป็นผู้มีใจใหญ่) ๑
ปณฺฑิตตา (ความเป็นผู้ฉลาด) ๑
อุชุทิฏฺฐิตา (ความเป็นผู้มีความเห็นตรง) ๑
อตฺถานตฺถกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ และสิ่งมิใช่ประโยชน์) ๑
******************
คัดลอกจาก อรรถกถา ปุตตสูตร
ปุตตสูตร ในขุททกนิกาย
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=25&A=5822&Z=5863&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=252
รักษาศีล ๕ ทำให้หลายเรื่องร้าย ๆ ในชีวิต หมดไป
๑. ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
๒. อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
๔. มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
**********************
อานิสงส์ของศีลแต่ละข้อ ~
ปาณาติปาตาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้คือ
องฺคปจฺจงฺคสมนฺนาคตา (ความเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอวัยวะน้อยใหญ่) ๑
อาโรหปริณาหสมฺปตฺติ (ความถึงพร้อมด้วยส่วนสูงและส่วนกว้าง) ๑
ชวนสมฺปตฺติ (ความถึงพร้อมด้วยเชาว์ไวไหวพริบ) ๑
สุปติฏฺฐิตปาทตา (ความเป็นผู้มีเท้าตั้งอยู่เหมาะสม) ๑
จารุตา (ความสวยงาม) ๑
มุทุตา (ความเป็นผู้อ่อนโยน) ๑
สุจิตา (ความสะอาด) ๑
สูรตา (ความกล้าหาญ) ๑
มหาพลตา (ความเป็นผู้มีกำลังมาก) ๑
วิสฏฺฐวจนตา (ความเป็นผู้มีถ้อยคำสละสลวย พูดจาน่ารัก) ๑
สตฺตานํ ปิยมนาปตา (ความเป็นผู้น่ารัก น่าพอใจ ของสัตว์ทั้งหลาย) ๑
อภิชฺชปริสตา (ความเป็นผู้มีบริษัทบริวารไม่แตกแยกกัน) ๑
อฉมฺภิตา (ความเป็นผู้ไม่สะดุ้งหวาดเสียว) ๑
ทุปฺปธํสิยตา (ความเป็นผู้อันใครๆ กำจัดได้ยาก) ๑
ปรูปกฺกเมน อมรณตา (ความเป็นผู้ไม่ตายด้วยการปองร้ายของผู้อื่น) ๑
มหาปริวารตา (ความเป็นผู้มีบริวารมาก) ๑
สุวณฺณตา (ความเป็นผู้มีผิวดังทอง) ๑
สุสณฺฐานตา (ความเป็นผู้มีทรวดทรงงาม) ๑
อปฺปาพาธตา (ความเป็นผู้มีอาพาธน้อย) ๑
อโสกตา (ความเป็นผู้ไม่เศร้าโศก) ๑
ปิยมนาเปหิ อวิปฺปโยคตา (ความเป็นผู้ไม่พลัดพราก จากของรักของชอบใจ) ๑
ทีฆายุตา (ความเป็นผู้มีอายุยืน) ๑.
อทินนาทานาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้คือ
มหาธนธญฺญตา (ความเป็นผู้มีทรัพย์ และข้าวเปลือกมาก) ๑
อนนฺตโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะ อเนกอนันต์) ๑
ถิรโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะยั่งยืน) ๑
อิจฺฉิตานํ โภคานํ ขิปฺปปฏิลาโภ (การได้โภคทรัพย์ตามที่ต้องการอย่างฉับพลัน) ๑
ราชาทีหิ อสาธารณโภคตา (การมีโภคะไม่ทั่วไปกับพระราชาเป็นต้น) ๑
อุฬารโภคตา (ความเป็นผู้มีโภคะโอฬาร) ๑
ตตฺถ ตตฺถ เชฏฺฐกภาโว (ความเป็นหัวหน้าในที่นั้นๆ) ๑
นตฺถิภาวสฺส อชานนตา (ความเป็นผู้ไม่รู้จักคำว่าไม่มี) ๑
สุขวิหารตา (ความเป็นผู้อยู่อย่างสบาย) ๑.
อพฺรหฺมจริยาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
วิคตปจฺจตฺถิกตา (ความเป็นผู้ปราศจากข้าศึก) ๑
สพฺพสตฺตานํ ปิยมนาปตา (ความเป็นที่รักเป็นที่พอใจของสรรพสัตว์) ๑
อนฺนปานวตฺถจฺฉาทนาทีนํ ลาภิตา (ความเป็นผู้มีปกติได้ของต่างๆ เช่น ข้าว น้ำ ผ้า และวัตถุเครื่องปกปิด) ๑
สุขสุปนตา (การนอนหลับสบาย) ๑
สุขปฏิพุชฺฌนตา (การตื่นขึ้นมาสบาย) ๑
อปายภยวิโมกฺโข (การพ้นจากภัยในอบาย) ๑
อตฺถีภาวนปุ ํสกภาวานํ อภพฺพตา (ความไม่ควรแก่การเกิดเป็นหญิง เป็นกะเทย) ๑
อกฺโกธนตา (ความเป็นผู้ไม่โกรธ) ๑
สจฺจการิตา (ความเป็นผู้มีปกติทำจริง) ๑
อมงฺกุภูตตา (ความเป็นผู้ไม่เก้อเขินหรือประหม่า ๑)
อาราธนสุขตา (ความเป็นผู้มีความสุขด้วยการรับเชิญ) ๑
ปริปุณฺณินฺทฺริยตา (ความเป็นผู้มีอินทรีย์บริบูรณ์) ๑
นิราสงฺกตา (ความเป็นผู้ปราศจากความระแวง) ๑
อปฺโปสฺสุกฺกตา (ความเป็นผู้มีความขวนขวายน้อย-คือไม่ต้องลำบาก ดิ้นรนมาก) ๑
สุขวิหารตา (ความเป็นผู้อยู่อย่างเป็นสุข) ๑
อกุโตภยตา (ความเป็นผู้ไม่มีภัยจากที่ไหนๆ) ๑
ปิยวิปฺปโยคาภาโว (ความเป็นผู้ไม่มีการพลัดพรากจากของรัก) ๑.
แม้ผลของการงดเว้นจากมิจฉาจาร ก็รวมอยู่ในผลของการงดเว้นจากการไม่ประพฤติพรหมจรรย์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อพฺรหฺมจริยา เวรมณี ดังนี้.
(ผู้ที่รักษาศีลห้า แต่ไม่สำเร็จความใคร่ จะได้ผลดี ในข้อนี้มาก แต่ผู้ที่รักษาศีลแปด หรืออุโบสถศีลจะได้รับสิ่งที่เจริญกว่านั้น เป็นเพราะ อกุศลได้รับการเบียดบัง จิตจะผ่องใสขึ้น กุศลได้รับการสั่งสมมากขึ้นนั่นเอง)
มุสาวาทาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
วิปฺปสนฺนินฺทฺริยตา (ความเป็นผู้มีอินทรีย์ผ่องใส) ๑
วิสฏฺฐมธุรภาณิตา (ความเป็นผู้มีปกติพูดด้วยคำสละสลวย อ่อนหวาน) ๑
สมสิตสุทฺธทนฺตตา (ความเป็นผู้มีฟันเรียบเสมอ ทั้งขาวทั้งสะอาด) ๑
นาติถูลตา (ความเป็นผู้ไม่อ้วนจนเกินไป) ๑
นาติกีสตา (ความเป็นผู้ไม่ผอมจนเกินไป) ๑
นาติรสสตา (ความเป็นผู้ไม่ต่ำเกินไป) ๑
นาติทีฆตา (ความเป็นผู้ไม่สูงเกินไป) ๑
สุขสมฺผสฺสตา (ความเป็นผู้มีสัมผัสเป็นสุข) ๑
อุปฺปลคนฺธมุขตา (ความเป็นผู้มีกลิ่นปากหอมเหมือนกลิ่นดอกอุบล) ๑
สุสสูสกปริสตา (ความเป็นผู้มีบริษัท เชื่อฟังตั้งอยู่ในโอวาท) ๑
อาเทยฺยวจนตา (ความเป็นผู้มีวาจาเชื่อถือได้) ๑
กมลทลสทิสมุทุโลหิตนยชิวฺหตา (ความเป็นผู้มีลิ้นอ่อน แดงและบางเหมือนกลีบดอกอุบล) ๑
อลีนตา (ความเป็นผู้ไม่หดหู่) ๑
อนุทฺธตตา (ความเป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน) ๑.
สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้ คือ
อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺเนสุ กิจฺจกรณีเยสุ อปฺปมาทตา (ความเป็นผู้ไม่ประมาทในกิจและกรณียกิจ ทั้งที่เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบัน) ๑
ญาณวนฺตตา (ความเป็นผู้มีญาณ) ๑
สทา อุปฏฺฐิตสติตา (ความเป็นผู้มีสติปรากฏอยู่ทุกเมื่อ) ๑
อุปฺปนฺเนสุ กิจฺจกรณีเยสุ สพฺพฏฺฐานุปฺปตฺติกปฏิภาณวนตตา (ความเป็นผู้มีปฏิภาณ เกิดขึ้นทุกสถาน ในเมื่อมีกิจและกรณียกิจเกิดขึ้น) ๑
อนลสตา (ความเป็นผู้ไม่เกียจคร้าน) ๑
อชฬตา (ความเป็นผู้ไม่โง่เขลา) ๑
อมูคตา (ความเป็นผู้ไม่บ้าใบ้) ๑
อจฺฉมฺภิตา (ความเป็นผู้ไม่หวาดสะดุ้ง) ๑
อสารมฺภตา (ความเป็นผู้ไม่มีการแข่งดี) ๑
อนิสสุกิตา (ความเป็นผู้ไม่มีความริษยา) ๑
อมจฺฉริตา (ความเป็นผู้ไม่ตระหนี่) ๑
สจฺจวาทิตา (ความเป็นผู้มีปกติกล่าวคำสัตย์) ๑
อปิสุณ อผรุส อสมฺผปฺปลาปวาทิตา (ความเป็นผู้มีปกติไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคำหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ) ๑
กตญฺญุตา (ความเป็นคนกตัญญู) ๑ กตเวทิตา (ความเป็นผู้มีกตเวที) ๑
โภควนฺตตา (ความเป็นผู้มีโภคะทรัพย์สมบัติ) ๑
สีลวนฺตตา (ความเป็นผู้มีศีล) ๑
อุชุคตา (ความเป็นผู้ซื่อตรง) ๑
อกฺโกธนตา (ความเป็นผู้ไม่โกรธ) ๑
หิโรตฺตปฺปสมฺปนฺนตา (ความเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยหิริและโอตัปปะ) ๑
มหตฺตตา (ความเป็นผู้มีใจใหญ่) ๑
ปณฺฑิตตา (ความเป็นผู้ฉลาด) ๑
อุชุทิฏฺฐิตา (ความเป็นผู้มีความเห็นตรง) ๑
อตฺถานตฺถกุสลตา (ความเป็นผู้ฉลาดในสิ่งที่เป็นประโยชน์ และสิ่งมิใช่ประโยชน์) ๑
******************
คัดลอกจาก อรรถกถา ปุตตสูตร
ปุตตสูตร ในขุททกนิกาย
http://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=25&A=5822&Z=5863&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=252