คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 2
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 1 http://www.youtube.com/watch?v=ifrBs4oIH6c
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 2 http://www.youtube.com/watch?v=3RW03HqPVa8
ถามวิศวะ: วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=YjJe1KCeAkU
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
โอกาสทางวิชาชีพ
ผู้ประกอบการโทรคมนาคม (Operator)
ผู้ให้บริการ (Service provider)
ผู้ผลิต (Manufacturer & HW, SW supplier)
เจ้าของโครงการ (Integrator)
Consult
นักวิจัย
ผู้ประกอบการรายใหญ่
TOT, CAT
True, TT&T
AIS
DTAC
HUTCH
ISPs
ผู้ให้บริการ เฉพาะด้าน
LoxInfo
CS
Inet
EGAT
PEA/MEA
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อ
กระบวนการภาคอุตสาหกรรม ด้านพลังงาน และความเป็นอยู่
ในชีวิตประจำวัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ามุ่งเน้นในการ
ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เพียบพร้อมทั้งด้าน
ทฤษฎี ด้านระบบความคิด และด้านปฏิบัติ ตอบสนองต่อ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งในด้านระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบควบคุม
การวัด ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นต้น นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์
ด้วยองค์ความรู้ ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้ผู้เรียน
ได้สามารถเลือกศึกษาได้อย่างครบวงจร
โอกาสทางวิชาชีพ
วิศวกรไฟฟ้าคือผู้ที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม นอกจากนี้งานของวิศวกรไฟฟ้ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแลระบบไฟฟ้าและกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้การวิเคราะห์ทั้งทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประกอบการดำเนินงาน วิศวกรไฟฟ้ายังอาจทำงานที่เกี่ยวข้องกับการขายการตลาดสำหรับ อุปกรณ์ หรือ ระบบ ที่ต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าในการให้คำปรึกษาทางเทคนิกการใช้งาน ติดตั้ง และการวางแผนของระบบ
ตัวอย่างงานของวิศวกรไฟฟ้า
วิศวกรออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า
วิศวกรวางแผน-ออกแบบระบบโครงข่ายโทรคมนาคม
วิศวกรโรงงาน
วิศวกรดูแลเครื่องจักรกลไฟฟ้า
วิศวกรระบบโทรคมนาคม
วิศวกรผู้จัดการอาคาร
วิศวกรระบบไฟฟ้ากำลัง
วิศวกรออกแบบแผ่นพิมพ์วงจร
วิศวกรด้านสมองกลฝังตัว
สร้างผลิตภัณฑ์
ที่ปรึกษาด้านพลังงาน
วิศวกรขายผลิตภัณฑ์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
เป็นผู้ประกอบการ
ฯลฯ
ตัวอย่างสถานที่ทำงาน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเดิม)
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
บริษัทเอกชนผู้ประกอบการที่ใช้บริการด้านการสื่อสาร เครือข่ายโทรคมนาคม
บริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชน
บริษัทสำรวจและผลิต ผลิตภัณฑ์ด้านปิโตเลียม
บริษัทผู้ประกอบการด้านปูนซีเมนต์
บริษัทเอกชนที่รับงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจากหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ
บริษัทเอกชนที่ผลิต จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
โรงงานอุตสาหกรรม
บริษัทออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบเครือข่ายโทรคมนาคม
ฯลฯ
โอกาสทางการศึกษา หรือ โอกาสในการทำงาน
.วิศวกรงานระบบในโรงงานและอาคาร ทั้งในฐานะผู้ออกแบบ
ควบคุมการติดตั้ง หรือ บริหารการใช้งาน ในระบบไฟฟ้า
ระบบปรับอากาศ สื่อสารโทรคมนาคม ระบบควบคุมอัตโนมัติ
รวมถึงระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม
.วิศวกรสนามในโครงการการก่อสร้างหรือผู้ออกแบบ
โครงสร้างอาคาร ระบบขนส่ง รวมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
และสิ่งแวดล้อมของเมือง
.วิศวกรควบคุมออกแบบและบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
หรือธุรกิจวิศวกรรมอื่น ๆ
.ผู้ออกแบบ หรือ บริหารควบคุมการใช้งาน เครื่องจักรอุปกรณ์ เช่น
ยานยนต์ เครื่องจักรการผลิต ระบบอาคารสถาน ฯลฯ
นอกจากการเป็นวิศวกรในสาขาต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว พื้นฐานทางด้าน
วิศวกรรมยังสามารถใช้ในการประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี
เช่น นักประดิษฐ์ ผู้ประกอบการทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม
รวมถึงตำแหน่งงานอื่น ๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer ฯลฯ
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
สาขา ภาควิชา เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไปได้หลากหลายอาชีพ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน วิศว ก็ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน วิศว
รายการปั้นฝัน "ทีเด็ดวิศวะ" ช่วงที่ 2 http://www.youtube.com/watch?v=3RW03HqPVa8
ถามวิศวะ: วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=YjJe1KCeAkU
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
โอกาสทางวิชาชีพ
ผู้ประกอบการโทรคมนาคม (Operator)
ผู้ให้บริการ (Service provider)
ผู้ผลิต (Manufacturer & HW, SW supplier)
เจ้าของโครงการ (Integrator)
Consult
นักวิจัย
ผู้ประกอบการรายใหญ่
TOT, CAT
True, TT&T
AIS
DTAC
HUTCH
ISPs
ผู้ให้บริการ เฉพาะด้าน
LoxInfo
CS
Inet
EGAT
PEA/MEA
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อ
กระบวนการภาคอุตสาหกรรม ด้านพลังงาน และความเป็นอยู่
ในชีวิตประจำวัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ามุ่งเน้นในการ
ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เพียบพร้อมทั้งด้าน
ทฤษฎี ด้านระบบความคิด และด้านปฏิบัติ ตอบสนองต่อ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทั้งในด้านระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบควบคุม
การวัด ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการสื่อสารโทรคมนาคม
เป็นต้น นอกจากนี้ยังเสริมสร้างความรู้และประสบการณ์
ด้วยองค์ความรู้ ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่ใกล้เคียง เพื่อให้ผู้เรียน
ได้สามารถเลือกศึกษาได้อย่างครบวงจร
โอกาสทางวิชาชีพ
วิศวกรไฟฟ้าคือผู้ที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างสมเหตุสมผลทางเศรษฐศาสตร์ งานของวิศวกรไฟฟ้าจึงเกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ และเชื่อมโยงกับการประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม นอกจากนี้งานของวิศวกรไฟฟ้ายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ รวมทั้งการทดสอบผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน งานของวิศวกรรมไฟฟ้ายังมีโอกาสเกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรมในการดูแลระบบไฟฟ้าและกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้การวิเคราะห์ทั้งทางด้านวิศวกรรม การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ประกอบการดำเนินงาน วิศวกรไฟฟ้ายังอาจทำงานที่เกี่ยวข้องกับการขายการตลาดสำหรับ อุปกรณ์ หรือ ระบบ ที่ต้องใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าในการให้คำปรึกษาทางเทคนิกการใช้งาน ติดตั้ง และการวางแผนของระบบ
ตัวอย่างงานของวิศวกรไฟฟ้า
วิศวกรออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า
วิศวกรวางแผน-ออกแบบระบบโครงข่ายโทรคมนาคม
วิศวกรโรงงาน
วิศวกรดูแลเครื่องจักรกลไฟฟ้า
วิศวกรระบบโทรคมนาคม
วิศวกรผู้จัดการอาคาร
วิศวกรระบบไฟฟ้ากำลัง
วิศวกรออกแบบแผ่นพิมพ์วงจร
วิศวกรด้านสมองกลฝังตัว
สร้างผลิตภัณฑ์
ที่ปรึกษาด้านพลังงาน
วิศวกรขายผลิตภัณฑ์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า
เป็นผู้ประกอบการ
ฯลฯ
ตัวอย่างสถานที่ทำงาน
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
การไฟฟ้านครหลวง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) (องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเดิม)
บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
บริษัทเอกชนผู้ประกอบการที่ใช้บริการด้านการสื่อสาร เครือข่ายโทรคมนาคม
บริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชน
บริษัทสำรวจและผลิต ผลิตภัณฑ์ด้านปิโตเลียม
บริษัทผู้ประกอบการด้านปูนซีเมนต์
บริษัทเอกชนที่รับงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจากหน่วยงานของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐ
บริษัทเอกชนที่ผลิต จำหน่าย ผลิตภัณฑ์ทางวิศวกรรมไฟฟ้า
โรงงานอุตสาหกรรม
บริษัทออกแบบ-ติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบเครือข่ายโทรคมนาคม
ฯลฯ
โอกาสทางการศึกษา หรือ โอกาสในการทำงาน
.วิศวกรงานระบบในโรงงานและอาคาร ทั้งในฐานะผู้ออกแบบ
ควบคุมการติดตั้ง หรือ บริหารการใช้งาน ในระบบไฟฟ้า
ระบบปรับอากาศ สื่อสารโทรคมนาคม ระบบควบคุมอัตโนมัติ
รวมถึงระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม
.วิศวกรสนามในโครงการการก่อสร้างหรือผู้ออกแบบ
โครงสร้างอาคาร ระบบขนส่ง รวมถึงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
และสิ่งแวดล้อมของเมือง
.วิศวกรควบคุมออกแบบและบริหารการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
หรือธุรกิจวิศวกรรมอื่น ๆ
.ผู้ออกแบบ หรือ บริหารควบคุมการใช้งาน เครื่องจักรอุปกรณ์ เช่น
ยานยนต์ เครื่องจักรการผลิต ระบบอาคารสถาน ฯลฯ
นอกจากการเป็นวิศวกรในสาขาต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว พื้นฐานทางด้าน
วิศวกรรมยังสามารถใช้ในการประกอบวิชาชีพอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี
เช่น นักประดิษฐ์ ผู้ประกอบการทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม
รวมถึงตำแหน่งงานอื่น ๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer ฯลฯ
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ ฯลฯ
สาขา ภาควิชา เอกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไปได้หลากหลายอาชีพ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน วิศว ก็ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน วิศว
แสดงความคิดเห็น
ขอสอบถามเกี่ยวกับสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคมครับ
ซึ่งตอนนี้กำลังจะจบปี 1 แล้วครับ ทางมหาลัยกำลังจะให้เลือกภาค ซึ่งผมก็ยังไม่มันใจในตัวเองเลยว่าผมจะเลือกอะไร
ในใจมีอยู่ 3 อันดับคือ 1.วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
2.วิศวกรรมไฟฟ้า(ไฟฟ้ากำลัง)
3.วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
แต่ผมแอบสนใจภาคอิเล็กทรอนิกส์เป็นการส่วนตัว เพราะผมมีบริษัทและงานในฝันที่เคยฝันไว้ตั้งแต่เด็กๆ
ผมจึงอยากสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับภาคนี้พี่ๆที่จบจากภาควิชานี้อ่าครับ ว่า
1.ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารแตกต่างจากไฟฟ้ากำลังอย่างไร แล้วงานแตกต่างกันไหม ?
2.ภาควิชานี้เรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง ?
3.ภาควิชานี้จบไปทำงานอะไรได้บ้างครับ มีความก้าวหน้า และมั่นคงมากแค่ไหน ?
4.ใน 3 ภาควิชานี้ภาควิชาไหนที่ดีกว่ากันครับ(ดีในแง่ความก้าวหน้าในอนาคต เงินเดือน ประมาณนี้ครับ)
อยากทราบข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกครับ
ขอขอบคุณล่วงหน้าสำหรับทุกคำตอบและคำแนะนำนะครับ ขอบคุณครับ