ได้อ่านคำชี้แจงจากสรรพากร เกี่ยวกับภาระภาษีกรณีเงินฝากร่วมกัน
https://www.facebook.com/RevenueDepartment/posts/1032730193422461?fref=nf&pnref=story
ในข้อ 2.3 - 2.4 ที่บอกว่า
2.3 สำหรับกรณีการฝากเงินที่เป็นบัญชีเงินฝากร่วมกันในลักษณะอื่น ๆ เช่น นำเงินไปฝากร่วมกับบุคคลอื่น จะเข้าลักษณะเป็นการเสียภาษีในรูปห้างหุ้นส่วนสามัญ ทั้งนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญสามารถเลือกใช้สิทธิถูกหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 โดยไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษีในแบบแสดงรายการภาษีในตอนปลายปี แต่เมื่อมีการแบ่งดอกเบี้ยที่ได้รับ หุ้นส่วนแต่ละคนจะต้องนำไปเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อไปอีก ครั้งหนึ่ง ทั้งนี้ หากเป็นกรณีการแบ่งเงินต้นที่ฝากจะไม่ใช่เงินได้พึงประเมินที่ต้องนำไปเสียภาษีเงินได้
2.4 กรณีห้างหุ้นส่วนสามัญเลือกใช้สิทธิถูกหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 และไม่นำมารวมคำนวณภาษีในแบบแสดงรายการภาษีในตอนปลายปี ห้างหุ้นส่วนสามัญนั้นไม่ต้องจัดทำบัญชีแสดงรายได้และรายจ่ายของห้างหุ้นส่วนสามัญ เพื่อยื่นต่อกรมสรรพากรแต่อย่างใด
สรุป คือ ถ้าเรายอมให้เขาหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% และ ไม่ขอภาษีส่วนนี้คืน .. ก็คือ จบ และ ส่วนแบ่งของดอกเบี้ย ก็ไม่ต้องเอาไปคำนวณใน ภงด. 40 (4) ใช่ไหมครับ?
สอบถามเรื่องบัญชีเงินฝากร่วมกัน กับ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
https://www.facebook.com/RevenueDepartment/posts/1032730193422461?fref=nf&pnref=story
ในข้อ 2.3 - 2.4 ที่บอกว่า
2.3 สำหรับกรณีการฝากเงินที่เป็นบัญชีเงินฝากร่วมกันในลักษณะอื่น ๆ เช่น นำเงินไปฝากร่วมกับบุคคลอื่น จะเข้าลักษณะเป็นการเสียภาษีในรูปห้างหุ้นส่วนสามัญ ทั้งนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญสามารถเลือกใช้สิทธิถูกหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 โดยไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษีในแบบแสดงรายการภาษีในตอนปลายปี แต่เมื่อมีการแบ่งดอกเบี้ยที่ได้รับ หุ้นส่วนแต่ละคนจะต้องนำไปเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาต่อไปอีก ครั้งหนึ่ง ทั้งนี้ หากเป็นกรณีการแบ่งเงินต้นที่ฝากจะไม่ใช่เงินได้พึงประเมินที่ต้องนำไปเสียภาษีเงินได้
2.4 กรณีห้างหุ้นส่วนสามัญเลือกใช้สิทธิถูกหัก ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 15 และไม่นำมารวมคำนวณภาษีในแบบแสดงรายการภาษีในตอนปลายปี ห้างหุ้นส่วนสามัญนั้นไม่ต้องจัดทำบัญชีแสดงรายได้และรายจ่ายของห้างหุ้นส่วนสามัญ เพื่อยื่นต่อกรมสรรพากรแต่อย่างใด
สรุป คือ ถ้าเรายอมให้เขาหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% และ ไม่ขอภาษีส่วนนี้คืน .. ก็คือ จบ และ ส่วนแบ่งของดอกเบี้ย ก็ไม่ต้องเอาไปคำนวณใน ภงด. 40 (4) ใช่ไหมครับ?