ตั้งเป็นกระทู้สนทนากัน ครับ
ในกระทู้นี้ตามผมเข้าใจ เกี่ยวกับการเรียก ทางขนาน , ทางหลัก , เลนนอก , เลนใน , ทางคู่ขนาน , ทางด่วน , ทางพิเศษ
ณ ปัจจุบัน เรียกกันแบบใด ตามกฎหมาย และ ตามคำสั่งกรมทางหลวง เป็นดังนี้ ครับ
อธิบายเบื้องต้นครับ ถนนที่มีขนาดใหญ่มากๆ เช่น ถนนวิภาวดีรังสิต , ถนนบรมราชชนนี , ถนนพระราม 2 , ถนนบางนา-ตราด
ส่วนใหญ่ทางใน
พื้นราบติดพื้นดิน จะมีการแบ่งทางออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ช่องทางรถติดเกาะกลางถนน ตามราชการจะเรียกว่า "ทางหลัก" โดยภาษาอังกฤษจะระบุชัดเจนว่า MAIN ROAD
ตัวอย่าง

จะเห็นได้ว่าไม่เรียกว่า ทางด่วน หรือ เลนนอก หรือ เลนใน แต่อย่างใด
2. ช่องทางที่ติดกับริมทางด้านซ้ายถนน ตามราชการจะเรียกว่า "ทางขนาน" โดยภาษาอังกฤษจะระบุชัดเจนว่า FRONTAGE ROAD
ตัวอย่าง

จะเห็นได้ว่าไม่เรียก ทางคู่ขนาน หรือ เลนนอก หรือ เลนใน แต่อย่างใด
เครดิตจาก
http://www.thaidriver.com/2010/totalnews.php?id=2591
ส่วนนี้คือ คำสั่งกรมทางหลวง สั่ง ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2552
http://www.krabiurt.com/street/data_street/fay/search/001.pdf ( คำสั่งกรมทางหลวง สั่ง ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2552 จะอยู่ในหน้าที่ 9 ของไฟล์)
ส่วนถ้าเป็นถนนที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ภาษาราชการจะเรียกว่า "ทางพิเศษ" ส่วนภาษาปากจะเรียกว่า "ทางด่วน"
และปัจจุบันมี พระราชบัญญัติ ทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐
http://www.exat.co.th/content/filemanager/document/pictrue_upload_158.pdf
ได้ให้ความหมายไว้ใน มาตรา ๔ ซึ่งได้บัญญัติให้ "ทางพิเศษ" หมายความว่า ....

ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม่มีคำว่า ทางด่วน ไว้ในความหมายแต่อย่างใด
ปัจจุบันการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้ก่อสร้างทางพิเศษและเปิดให้บริการแล้ว ๗ สายทาง และทางเชื่อมต่อทางพิเศษ ๓ แห่ง รวมระยะทาง ๒๐๗.๙ กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานครปริมณฑลและจังหวัดใกล้เคียง ดังต่อไปนี้
๑. ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๑) ระยะทางรวม ๒๗.๑ กิโลเมตร ประกอบด้วย
๒. ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๒) ระยะทางรวม ๓๘.๔ กิโลเมตร ประกอบด้วย
๓. ทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา - อาจณรงค์)
๔. ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา - ชลบุรี) ระยะทาง ๕๕.๐ กิโลเมตรมีจุดเริ่มต้นที่ บริเวณบางนา-ตราด (กม. ๒ + ๕๐๐) ไปถึงชลบุรี (กม. ๕๕ + ๓๕๐) เปิดให้บริการตลอดสายเมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
๕. ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน - ปากเกร็ด) ระยะทางรวม ๓๒ กิโลเมตร
๖. โครงการระบบทางด่วนขั้นที่ ๓ สายใต้ ตอน S ๑
๗. โครงการทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (เฉพาะส่วนช่วงสุขสวัสดิ์-บางขุนเทียน เป็นของกรมทางหลวง ซึ่งปัจจุบันได้ยกเว้นการเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง)
๘. โครงการทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
http://www.exat.co.th/v2/index.php/th_TH/news/article/view/5/149/
ความเข้าใจในการเรียก ทางขนาน , ทางหลัก , เลนนอก , เลนใน , ทางด่วน , ทางพิเศษ ฯลฯ ณ ปัจจุบัน (มีรูป)
ในกระทู้นี้ตามผมเข้าใจ เกี่ยวกับการเรียก ทางขนาน , ทางหลัก , เลนนอก , เลนใน , ทางคู่ขนาน , ทางด่วน , ทางพิเศษ
ณ ปัจจุบัน เรียกกันแบบใด ตามกฎหมาย และ ตามคำสั่งกรมทางหลวง เป็นดังนี้ ครับ
อธิบายเบื้องต้นครับ ถนนที่มีขนาดใหญ่มากๆ เช่น ถนนวิภาวดีรังสิต , ถนนบรมราชชนนี , ถนนพระราม 2 , ถนนบางนา-ตราด
ส่วนใหญ่ทางในพื้นราบติดพื้นดิน จะมีการแบ่งทางออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ช่องทางรถติดเกาะกลางถนน ตามราชการจะเรียกว่า "ทางหลัก" โดยภาษาอังกฤษจะระบุชัดเจนว่า MAIN ROAD
ตัวอย่าง
จะเห็นได้ว่าไม่เรียกว่า ทางด่วน หรือ เลนนอก หรือ เลนใน แต่อย่างใด
2. ช่องทางที่ติดกับริมทางด้านซ้ายถนน ตามราชการจะเรียกว่า "ทางขนาน" โดยภาษาอังกฤษจะระบุชัดเจนว่า FRONTAGE ROAD
ตัวอย่าง
จะเห็นได้ว่าไม่เรียก ทางคู่ขนาน หรือ เลนนอก หรือ เลนใน แต่อย่างใด
เครดิตจาก http://www.thaidriver.com/2010/totalnews.php?id=2591
ส่วนนี้คือ คำสั่งกรมทางหลวง สั่ง ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2552
http://www.krabiurt.com/street/data_street/fay/search/001.pdf ( คำสั่งกรมทางหลวง สั่ง ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2552 จะอยู่ในหน้าที่ 9 ของไฟล์)
ส่วนถ้าเป็นถนนที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
ภาษาราชการจะเรียกว่า "ทางพิเศษ" ส่วนภาษาปากจะเรียกว่า "ทางด่วน"
และปัจจุบันมี พระราชบัญญัติ ทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ http://www.exat.co.th/content/filemanager/document/pictrue_upload_158.pdf
ได้ให้ความหมายไว้ใน มาตรา ๔ ซึ่งได้บัญญัติให้ "ทางพิเศษ" หมายความว่า ....
ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม่มีคำว่า ทางด่วน ไว้ในความหมายแต่อย่างใด
ปัจจุบันการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้ก่อสร้างทางพิเศษและเปิดให้บริการแล้ว ๗ สายทาง และทางเชื่อมต่อทางพิเศษ ๓ แห่ง รวมระยะทาง ๒๐๗.๙ กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานครปริมณฑลและจังหวัดใกล้เคียง ดังต่อไปนี้
๑. ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๑) ระยะทางรวม ๒๗.๑ กิโลเมตร ประกอบด้วย
๒. ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางด่วนขั้นที่ ๒) ระยะทางรวม ๓๘.๔ กิโลเมตร ประกอบด้วย
๓. ทางพิเศษฉลองรัช (ทางด่วนสายรามอินทรา - อาจณรงค์)
๔. ทางพิเศษบูรพาวิถี (ทางด่วนสายบางนา - ชลบุรี) ระยะทาง ๕๕.๐ กิโลเมตรมีจุดเริ่มต้นที่ บริเวณบางนา-ตราด (กม. ๒ + ๕๐๐) ไปถึงชลบุรี (กม. ๕๕ + ๓๕๐) เปิดให้บริการตลอดสายเมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๓
๕. ทางพิเศษอุดรรัถยา (ทางด่วนสายบางปะอิน - ปากเกร็ด) ระยะทางรวม ๓๒ กิโลเมตร
๖. โครงการระบบทางด่วนขั้นที่ ๓ สายใต้ ตอน S ๑
๗. โครงการทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ์ (เฉพาะส่วนช่วงสุขสวัสดิ์-บางขุนเทียน เป็นของกรมทางหลวง ซึ่งปัจจุบันได้ยกเว้นการเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทาง)
๘. โครงการทางพิเศษสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
http://www.exat.co.th/v2/index.php/th_TH/news/article/view/5/149/